ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค – วิถีมิติรวมแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า 29
อกัปแห่งหญิง เป็นปัจจุปัน
ปุริสปิยรึ มีภาวะแห่งชายเป็นลักษณะ มีอันประกาศว่าชายเป็นรส มีภาวะคือการทำ (ปุริสซิงคะ) เพศแห่งชาย (ปุริสมนิตตะ)
นิมิตแห่งชาย (ปุริสสุดตะ) จีริตแห่งชาย และ (ปุริสกัปปะ)
อกัปแห่งชาย เป็นปัจจุบุปัน
อิติศัพท์และปุริสินทรีย์ทั้ง ๒ นั้น ปกแผ่ไปทั่วร่าง (ของหญิงชาย) ดังกายประสาทเหมือนกัน แต่ไม่ถึงกับกล่าวไว้ว่า มันต้องอยู่ในโอากาสที่จะประทับดังอยู่ หรือว่ามันตั้งอยู่ในโอากาสที่งาประสาทิมได้ดังอธิบาย ความปะปนกันและกัน (แห่งกวารูปกายประสาท) ก็ไม่มี ดังรูปานรสเป็นดัง (ก็มีได้ประกนกัน) ฉะนั้น
[ชีวิตรูป ๑]
ชีวิตรึ มีการตามรักสหรัชรูป (รูปที่เกิดร่วมกัน) ไขเป็นลักษณะ มีการยึดสหรูรูปเหล่านั่นให้เป็นไปเป็นรส มีอันกล่าวไว้
● มหากุฎาอธิบายว่า ความกลมกลึง และอวัยวะมีเต้าเป็นต้น ไม้กระดิ่งเป็นความมือนั้นไม่มีกระดิ่ง
ความมือนี้อันนั่น ไม่มีนวดเผา ถักและหนามผ้า เป็นอธิฏินิมิต เพราะเป็นปัจจัยให้จำได้ว่า หญิง การเล่นด้วยเครื่องดำขำว่ากระดิ่งจะเป็นดัง ในตอนเป็นเด็ก และการทำงานเกี่ยวด้วยการทอมีครอดเป็นดัง เป็นอธิฏินิมิต คือก็ของหญิง อาการมีเดินไม่ผ่านเลยเป็นดังเป็นอธิฏินิมิต
อีกหนึ่งหนึ่ง อธิฏินิมิต หมายถึงอวัยวะเพศของหญิง อธิฏินิมิต หมายถึงเสียงของหญิง อธิฏินิมิตหมายถึงกิริยาต่าง ๆ ของหญิง มีชิน เดิน นั่ง เคี้ยวกินเปนต้นที่มีผิวเนีย อธิฏินิมิตหมายถึงวรรคระงบของผู้หญิง
2. มหากุฎาว่ากา วารรูปับกายประสาท ไม่มีปะปนเกี่ยวข้องกัน เพราะมีอำคัยต่างกัน ส่วนรูปกับรส แม่มีอธิฏินิมิตกัน ก็ไม่ปะปนฉบับเนื่องกัน เพราะมีลักษณะต่างกัน