วิทยาธรรมแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ๘๙ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 90
หน้าที่ 90 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงแนวคิดในวิทยาธรรมเกี่ยวกับโมทะ ซึ่งมีความเป็นตัวตนแห่งจิตและความไม่รู้ รวมถึงการอธิบายมิจฉาทิฏฐิที่ทำให้สัตว์เห็นผิดธรรมชาติ นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงความยุ่งเหยิงในจิตใจที่เกิดจากการมองเห็นผิด โดยมิจฉาทิฏฐินั้นไม่ถูกต้อง และนำไปสู่การยึดมั่นและไม่สนใจพระอริยะ การนำเสนอเหล่านี้มีความสำคัญในการศึกษาและเข้าใจธรรมะเพื่อการปฏิบัติที่ถูกต้องและเห็นทางในการเดินทางสู่ความเจริญของจิตใจ

หัวข้อประเด็น

-โมทะ
-มิจฉาทิฏฐิ
-ความไม่รู้
-พระอริยะ
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค~ วิทยาธรรมแปล ภาค ๑ ตอน ๑ หน้า ๘๙ ดูดสีป้ายตาผสม่น้ำมัน (ป้ายแล้วติด ล้างออกอยาก) นะนั้น มีความเห็น ว่านำยินดีในส่งโยนิษธรรมทั้งหลาย เป็นปฐมฐาน โลกะนี้ นับถือพึงเห็นว่า เมื่อบังขยายตัวฉนั้นเป็นแห่งน้ำ ดินหา มีแต่ฟ้าโปรกเท่านั้น ดังแม้นภิกษุเจ้าขึ้นเป็นแมน้ำ มีแต่ พาไปสู่มรรคทางเดียว นะนั้น โมทะ มีความบอดแห่งจิตเป็นลักษณะ นั้นหนึ่ง มีความไม่รู้ เป็นลักษณะ มีความไม่เข้าใจอตลอดเป็นรส นั้นหนึ่ง มันอปิดเสย ถึงสภาพแห่งอารมณ์เป็นรส มีความปฏิบัติไม่ชอบเป็นปัจจุบัน นั้นหนึ่ง มีความมิด (คือโง่เขลา) เป็นปัจจุบัน มีความทำในใจ โดยไม่แยบคาย เป็นปฐมฐาน โมนะนี้ นับถือพึงเห็นว่า เป็นมูล แห่งอุดคั่งทั้งปวง [มิจฉาทิฏฐิ] สัตว์ทั้งหลายย่อมเห็นผิดด้วยธรรมชาตินั้นเป็นเหตุ ธรรมชาตินั้นจึงชื่อว่า มิจฉาทิฏฐิ (แปลว่าธรรมชาติเป็นเหตุแห่งผิดแห่งสัตว์ทั้งหมด) นะนั้น ธรรมชาติโด ยอ่อนเห็นผิดอยู่เอง ธรรมชาตินั้น ชื่อมิจฉาทิฏฐิ (แปลว่าธรรมชาติดินเห็นผิด) นะนั้น ธรรมชาตินั้นส่อมินทิฏฐิ (แปลว่าธรรมชาต Dip..อ..: เห็นผิด) นะนั้น ธรรมชาตินั้น สกัดเป็นอันเห็นผิด เหตุนี้จึงชื่อว่า มิจฉาทิฏฐิ (แปลว่าความเห็นผิด) มิจฉาทิฏฐินั้น มีความยึดมั่น โดยไม่ถูกทางเป็นลักษณะ มีอึน จับเอาผิด ๆ เป็นรส มีความปกติใจผิดเป็นปัจจุบัน มีโทษมีความ ไม่อยากเห็นพระอริยะทั้งหลายเป็นต้น เป็นปฐมฐาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More