มรณทุกข์: การศึกษาและความหมาย วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 182
หน้าที่ 182 / 405

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับมรณทุกข์ที่ประกอบไปด้วยการวิเคราะห์ความหมายของความตายและวิธีการเข้าถึงการปล่อยวางในพุทธศาสนา, โดยอธิบายลักษณะของมรณะและความสำคัญของการเข้าใจทุกข์ที่เกิดจากการแยกจากกันในชีวิต. แนวทางนี้มีการพูดถึงความตายจากมุมมองที่ต่างกัน เช่น ชาติ, อายุนั้น, การกระทำและเหตุการณ์อื่น ๆ ที่สามารถเกิดขึ้น. ทั้งนี้เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญในการเตรียมพร้อมต่อการเผชิญหน้ากับมรณะอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

-มรณทุกข์
-วิถีธรรม
-ความตาย
-พุทธศาสนา
-การปล่อยวาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมวาระเปล่า ภาค ๓ ตอน ๑ หน้า ๑๘๑ [มรณทุกข์] แม้ในข้าว่า "แม้มาระยะเป็นทุกข์" นี้ มาระมีกี่ ๒ คือ สังขตลักษณะ ซึ่งท่านหมายเอากล่าวไว้ว่า "ฐทรุมะสงสาระด้วยขันธ์ ๕" ดังนั้น ความขาดการติดต่อกันไปแห่งชีวิตก็ทีเนื่องอยู่ในภาพนี้ ซึ่งพระภาคเจ้าทรงหมายถึงตรัสไว้ว่า "ความกลัวตายมือเป็นนิจ" ดังนี้ มาระคือความขาดชีวิตหรืออึ่น (แหละ) ประสงค์เอาในที่นี้ แก่ว่า ชาติปิยามนะ (ความตายมาเป็นปัจจัย) อยู่กันมะนะ (ความตายเพราะการกระทำ) สรรสมะนะ (ความตายโดยสภาพ คือความเอง ?) อายุยมะนะ (ความตายเพราะสิ้นอายุ) ปัจจุบันะ (ความตายเพราะสิ้นบุญ) ดังนี้ทีเป็นชื่อของมรณะคือความขาดชีวิตินทรีย์นั่นเอง มรณะนี้นั้น มีชื่อ (ความเคลื่อนไปจากปัจจุบันภาพ) เป็นลักษณะ มีวิธีโยค (ความพรากไปจากสัตว์และสังขารตามที่อนุญาตไว้) เป็นรสดีวิติวาส (ความพลัดจากคติที่ตามเข้าถึงแล้วไป) เป็นปัจจุปกรณ์ ส่วนที่ว่า (มรณะ) เป็นทุกข์ พิษฐานว่า เพราะความเป็นที่ตั้งแห่งคุณ (เหตุนี้ นักปราชญ์จึงกล่าวคำประพันธ์ไว้ว่า ปาโฏ ปาปญฺญาโต - ปา ปะ ทุกข์อุปา ทุกข์ทางใจอันใดมีขึ้นโดยไม่แปลกกันแก่คนที่กำลัง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More