วิถีธรรมรเปลภาค ๑ ตอนที่ ๑ หน้า ๒๙๑ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 292
หน้าที่ 292 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของปัจจัยต่างๆ ในการทำให้เกิดเหตุสำเร็จ โดยเน้นการวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจแตกต่างกันหรือเหมือนกันในลักษณะต่างๆ รวมถึงการเข้าใจถึงพื้นฐานที่มีผลต่อธรรมทั้งหลาย และความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการศึกษาและการเข้าใจธรรมะ ซึ่งนำมาซึ่งข้อคิดและความเข้าใจในวิถีแห่งการดำเนินชีวิต.

หัวข้อประเด็น

- ปัจจัยและเหตุสำเร็จ
- ความสัมพันธ์ระหว่างรูปและจิต
- การศึกษาและสภาวะธรรม
- การวิเคราะห์ทางธรรม
- วิถีธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมรเปลภาค ๑ ตอนที่ ๑ หน้า ๒๙๑ เหมือนกัน (กับผล) ก็ชนะกัน ย่อมเป็นเหตุสำเร็จ (คือให้เกิดผล) ได้ แต่ธรรมล่านั้น มีได้เป็น วิบาก (แก่บุคคลนั้น) โดย จริงอยู่ ปัจจัยผิดกันโดยฐาน (ตำแหน่งที่ and เวลา) สภาวะ และ กิจเป็นต้นแห่ง (สภาวะ) ธรรมทั้งหลายก็ดี ไม่ผิดกันก็ดี ย่อมเป็น เหตุสำเร็จได้ในโลก ด้วยดิจดวงก่อน ย่อมเป็นปัจจัยที่ผิดกันโดยฐาน แห่งจิตวงหลังได้ และการศึกษามีศึกษาสปะเป็นต้นก่อน ย่อม เป็นปัจจัยที่ผิดกันโดยฐานแห่งรูปได้ และมนต์เป็นต้น เป็นปัจจัยที่ผิดกันโดยสภาวะแห่งรูปได้ แสงสว่างเป็นปัจจัยที่ผิดกันโดยจก็แสงภาวัญได้ และน้อยอ่อน เป็นต้น เป็นปัจจัยที่ผิดกันโดยกิเลสชาติและน้อมบัง เป็นต้น เป็นปัจจัยที่ผิดกันโดยกิเลสอันคือเมามา เป็นต้น ก็คือได้ ส่วนจักษุและรูปเป็นต้น เป็นปัจจัยที่ไม่ผิดกันโดยฐานแห่งจุจ- วิญญาณเป็นต้น ชวนดิจดวงก่อนเป็นต้น เป็นปัจจัยที่ไม่ผิดกันโดย สภาวะ และไม่ผิดกันโดยกิเลสชาวนิดวงหลังเป็นต้น องค์ ปัจจัยที่ผิดกันและไม่ผิดกัน (กับผล) เป็นเหตุสำเร็จได้ ฉันใด แต่มปัจจัยที่เหมือนกันและไม่เหมือนกัน (กับผล) ก็เป็นเหตุ สำเร็จได้ฉันนั้น จริงอยู่ รูปกล่าวคือดูกและอาหาร ซึ่งเหมือนกัน นั่นเองเป็นปัจจัยแห่งรูป พีข้าวสารรีเป็นต้น ซึ่งเหมือนกันนั้นแ เป็นปัจจัยแห่งข้าวสารเป็นต้น รูปชงไม่เหมือนกัน แต่เป็น ปัจจัยแห่งรูปได้ อุรูปเล็กเป็นปัจจัยแห่งรูปได้ และขนโง ขนแกะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More