ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - วิทยาธิรรมในภาค ๓ ตอนที่ ๑๓๖
ดั้งเป็นต้นก่อน ส่วนวินิฉัยโดยอรรถที่ไม่แปลกกัน พิงทราบดังนี้
ธรรมใดอ่อนจัด (จำทุกข์ให้เกิดขึ้น) เหตุนี้ ธรรมมั่นจึงชื่อว่า
ว่าธาตุ (แปลวาธรรมผู้ตั้งขึ้น)
หรือว่า ธรรมทั้งหลายใด อันสัตว์ทั้งหลายทรงไว้ (คือถือ
ไว้) เหตุนี้ ธรรมทั้งหลายนี้ จึงชื่อว่า ธาตุ (แปลว่า ธรรมที่
สัตว์ทรงไว้)
หรือว่า วิญาณ-การตั้งไว้ (คือกุญแจ) ชื่อว่าวาธุ
หรือว่า ทุกข์ อันสัตว์ทั้งหลายทรงไว้ (คือถือไว้) ด้วย
ธรรมชาตินั้น (เป็นเหตุ) เหตุนี้ ธรรมชาตินั้นจึงชื่อว่าธาตุ (แปล
ว่า ธรรมชาติเป็นเหตุทรง (ทุกข์) ไว้ แห่งสัตว์ทั้งหลาย
หรือว่า ทุกข์ อันสัตว์ทั้งหลายทรงไว้ (คือถือไว้) ในธรรม
ชาตินั้น เหตุนี้ธรรมชาตินั้นจึงชื่อว่าธาตุ (แปลว่า ธรรมชาติเป็นที่
อันสัตว์ทรง (ทุกข์) ไว้)
จริงอยู่ ธาตุทั้งหลายที่เป็นโลภะ เป็นสิ่งที่ธรรมมาตั้งกำหนดไว้
โดยความเป็นตัวบ่งเหตุ ย่อมจัดแจงสรรพทุกข์นี้เป็นอนนกประการ
ดูซอๆ (แน่) ทั้งหลาย มีตุงของดุงนี้เป็นอาทิ จัดสรรโละะะ
มีกองและเงินเป็นต้นนี้ ทะนัน
๑. วิทยาธิ (ซึ่งแปลว่าจัด ในที่นี้) มหาภิกาให้ความหมายว่า ทำให้เกิดขึ้น คง
บังคับว่า เข้าต้องเป็นไปอย่างนี้อย่างนั้น เพราะฉะนั้น จะแปลโดยความฮืออย่างหนึ่ง
ว่า 'บังคับ' ตรง ๆ ก็เนาะได้ในลงแห่ง
๒. มหาภิกาว่า โลภะรุก คอ่มไม่จัดแจงสรรพทุกข์ให้เกิดขึ้น มีแต่ อำ ทำลายทุกข์
เพราะฉะนั้น ในที่นาท่านั้นริง 'โลภะ' เป็นวิเศษสำคัญก็ได้ด้วย