วิถีธรรมแปล ภาค ๑ - ทุกข์และอุปาทานขันธ์ วิสุทธิมรรค ภาค 3 ตอน 1 หน้า 190
หน้าที่ 190 / 405

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความเป็นมาของทุกข์และอุปาทานขันธ์ตามหลักพุทธศาสนา โดยพระอินเน้นว่าความไม่ดีที่ปรารถนาเป็นต้นเหตุของทุกข์ และนำเสนอความเข้าใจในทุกข์ตั้งแต่ชาติทุกข์จนถึงพระอริยเจ้า เพื่อให้เห็นว่าทุกข์ทั้งปวงล้วนเกิดจากอุปาทานขันธ์ พระมหาภิกษุได้ชี้แจงว่าความปรารถนาอาจก่อให้เกิดอิจฉา จึงสอนว่าการขจัดอิจฉานั้นสำคัญต่อการปลดทุกข์.

หัวข้อประเด็น

-ทุกข์ในพุทธศาสนา
-อุปาทานขันธ์
-ความปรารถนาและอิจฉา
-การปลดทุกข์
-หลักธรรมของพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - วิถีธรรมแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 189 เป็นเหตุของทุกข์อันนั้น เพราะเหตุอันนั้น พระอินจึงจงรักษาความไม่ดีสิ่งที่ปรารถนา ว่าเป็น ทุกข์ นี่เป็นวิธีฉันในอจินตนาลทุกข์ [ปัญญูปาทานขันธ์ทุกข์] ส่วนในข้อว่า 'โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์' นี้ มี วิจินฉว่า ทุกข์ตั้งแต่ชาติทุกข์มาจนใด ที่พระผู้มะภาคเจ้า ผู้ทรงตาดำ คุณครูไว้ในทุกข์เท่านี้แล้วก็ทุกข์ ทุกข์ทั้งปวง นั่น เว้นอุปาทานขันธ์ทั้งหลาย ก็กล้ไม่ ใช่เหตุใด เพราะเหตุอัน อุปาทานขันธ์ทั้งหลายนี้ พระ มหาอุจฉาอาจผู้ทรงอัคคีที่สุดทุกข์ จึงถือว่าเป็นทุกข์ โดยย่อ · ท่านแก้ทุกข์นี้ ก่อนข้างจะกำรม คืไม่ไม่คะดดลงไป จะแหมายเอาตัว ความปรารถนา หรือว่าจะหมายเอาความไม่ดี (สิ่งที่ปรารถนา) ตอนนั้นก็ว่า อจินตนาล -ความปรารถนานั้นแล แต่ตอนท้ายในคำว่า อจินตนาล จะก่ออิจฉาตาละ- ความไม่ดีสิ่งที่ปรารถนา มหาภิกท่านก็รู้สึกอย่างนี้ จึงกล่าวว่า อาจารย์ทั้งหลายว่า คำว่า อิจฉา - ความ ปรารถนานั้นแล นี้คือความไม่ดีนี้เนื่องด้วยความปรารถนานั้นเอง (ไม่ใช่ปรารถนา เญ ยนํานั้น) และว่าถ้า อิจฉาละ ก็ถือความไม่ดีอะไรล่เืน่ทีตนปรารถนา เพราะบังล่าวว่า ยมปญฺญ น ลภติ - ปรารถนาผู้ดียวไม่ได้ แม้ฉันใด เท่านั้น แต่ในคัมภีร์ที่ท่านกล่าวอิจฉาตาละอย่างสุดยอด ตามพุทธวจว่าว่า สัตว์ที่ย่อจะ ต้องเกิด ปรารถนาไม่เกิด เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More