ทฤษฎีสมดุลสภาวะกาล - ภาค ๑ ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 9
หน้าที่ 9 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความแตกต่างของความฝันและการหลับฝัน โดยนำเสนอมุมมองทางพระธรรมชาติ ที่กล่าวถึงการเห็นและการไม่เห็นในขณะที่ฝัน รวมถึงการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ทางจิตใจซึ่งมีผลต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในความฝัน ผู้เขียนได้วิเคราะห์สถานการณ์ของการหลับและฝัน พร้อมอ้างอิงถึงแนวคิดของพระนาคเสน รวมถึงการทำความเข้าใจและสรุปความแตกต่างระหว่างผู้ที่มีสภาพจิตที่ต่างกันในขณะที่ฝัน

หัวข้อประเด็น

-ความฝันและจิตใต้สำนึก
-พระอธิฐานและพระวินัย
-การวิเคราะห์ความฝัน
-การละวินัยในความฝัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- ทฤษฎีสมดุลสภาวะกาล- ภาค ๑- หน้าที่ 9 จริงโดยส่วนเดียวเอ. ความแตกต่างแห่งความฝัน แม้เพราะ ความแตกต่างแห่งมูลเหตุผู้ห้ อย่างนี้ก็จะกันมิได้เหมือนกัน ก็แล้ว ความฝันทั้ง ๔ อย่างนี้นั้น พระสะและปฐมุนั้นนุ้น ย่อมฝัน เพราะยังละวิบากลาศไม่ใช่ พระสะทั้งหลาย ย่อมไม่ฝันเพราะท่าน ละวิบากลาศได้แล้ว ถามว่า " ก็บัญคุลเมื่อฝันนั้น หลับฝัน หรือดื่นฝัน หรือว่า ไม่หลับไม่ตื่นฝัน" แก้วว่า "ในเรื่องความฝันนี้ ท่านควรกล่าวว่ากล่าวเพิ่มเติมอีกสักน่อย. ชั้นแรก ถ้าคนหลับฝันก็จะต้องขัดแย้งกับพระอธิฐรรม เพราะว่า คน หลับด้วยวังกิจกิต วิ่งวังกิจนั้น หามีรูปริมเป็นต้นเป็นอารมณ์หรือ สัมปฤกษด้วยกระเป็นต้นไม. ก็เมื่ออนุคคนฝัน จิตทั้งหลายเช่นนี้ ย่อม เกิดขึ้นได้ ถ้าบุคคล ด้นฝัน ก็จะต้องขัดแย้งกับพระวินัย เพราะว่า คนนี้ฝันเห็นสิ่งใด เขาเห็นสิ่งนั้น ด้วยสัพโภทิจิต (ด้วยจิตตามปกติ). ก็อธิบว่า อนบัติ ย่อมไม่มีในเพราะความ ล่วงละเมิดที่กิณฑุทำด้วยสัพโภทิจิต. แต่เมื่อผู้อกลั่นฝันทำการ ล่วงละเมิด เป็นอนาบติโดยส่วนเดียวเท่านั้น. ถาบคุลไม่หลับไม่ตื่น ฝัน ชื่อว่าใคร ๆ จะฝันไม่ได้. และเมื่อเป็นอย่างนั้น ความฝันก็ จะต้องไม่มีแน่ จะไม่มีไม่ได้. เพราะเหตุไร ? เพราะคนผูกอ ความหลับดุจดังหลับครอบงำ จีฝัน" สมดังดังคำที่พระนาคเสน ๑. วิจิตรในหนูกุ๊ก, สพัายกริจิตตนาณปฏิพุทธสมสุ ปกติจีฏตน แปลว่า บทว่าด้วยสัพโภทิจิต นั้น คือ ด้วยอัธิติอตตามปกติของคนผู้อยู่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More