การใช้สอยและการบริโภคในธรรมะ ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 361
หน้าที่ 361 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการใช้สอยและการบริโภคตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนาที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่ารูปปิยะไม่มีมูลค่า และไม่ควรที่จะรับส่วนแบ่งในการบริโภคที่มีการแบ่งปันระหว่างสงฆ์เนื่องจากความสำคัญของการแสดงความเอื้อเฟื้อในหมู่สงฆ์ โดยเน้นความไม่สมควรในการรับรูปปิยะที่ไม่เหมาะสมกับธรรมดาของกรรรมที่ควรปฏิบัติตามในชุมชนสงฆ์ที่เชื่อมโยงกับการประกอบความดี

หัวข้อประเด็น

-การใช้สอยตามธรรมะ
-การบริโภคในสงฆ์
-ความสำคัญของรูปปิยะ
-การแบ่งปันในชุมชนสงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ดู่อสิ้นสมุดฉบับกามกาเปนภ ภาค ๑ หน้าที่ 360 ในคำว่า สมมุมชุมเฉ พิสูจน์ชิวิตพอุ นี้ พระผู้มพระภาคไม่ตรัสว่า "พิงสละแห่งสงฆ์ หรือเกี๊ย หรือแก่บุคคล" ก็เพราะธรรมดาว่าริษะเป็นอัปปิมปิยะ (เป็นของไม่สมควร) อึ่ง เพราะ รูปปิยะนั้น เป็นเพียงแต่กุร รูปไว้เท่านั้น เธอไม่ไดจ่ายหาก็ปิยบำบัตออะไรด้วยรูปนั้น, ฉะนั้น เพื่อแสดงการใช้สอยโดยอุบาย จึงตรัสว่า "พิงสละในท่ามกลางแห่งสงฆ์." ขอว่า กุโบย อาณจิตพุ่ง สปปิ วา มีความว่า พิงบอกอย่างนี้ว่า "อุปาส เนยใล หรืออันมัน ย่อมควรแก่บรรพชิตทั้งหลาย." [ปัจจัยได้จากรูปปิยะที่กิฬรับ ไม่ควรแก่เธอรับ] ขอว่า รูปปิฏุกาคหิ ชปปฎวา สพุเทวาม ปฺฏิญาณชิตพุ มีความว่า ก็ทั้งหมดพึ่งแจกกันบริโภค. ภิกษุรับปิยะไม่พึงรับส่วนแบ่ง. แม่ได้ส่วนที่ถึงแก่ภาคก็อิ่มหรืออรามก็แล้ว จะแบกรกก็ไม่ควร. โดยที่สุดคนใส่ หรืออ้นมันนัน อันจริงฉันมิลิงเป็นต้น ลักเอาไปจากส่วนแบ่งนั้น วางไว้ในป่า หรือที่หล่นจากมือ ของสัตว์เหล่านั้น ยังเป็นของอันครองฉานหวงแหนก็เป็นของบังสุกุล คีไม่สมควรทั้งนั้น. แม้จะอปสนานะ ค่อยอ้อนอีที่นำมากส่วนแบ่งนั้น ก็ไม่ควร. จะตามประทีปโดยอัยใจสา หรืออันมันแล้ว นอนก็แค กระทำสนิทบรรธรรมก็ดี สอนหนังสือก็ดี ด้วยแสงสว่างแห่งประทีป ไม่ควร. องค์ จะทานผลร่างกายด้วยน้ำมัน น้ำผึ้งและน้ำอ้อย เป็นดัง จากส่วนแบ่งนั้น ก็ไม่ควรเหมือนกัน.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More