การวิเคราะห์อุปจารในพระบาลี ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 282
หน้าที่ 282 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการสำรวจความหมายของอุปจารในพระบาลี โดยเฉพาะการวิเคราะห์การใช้ศัพท์ในบริบทต่าง ๆ เช่น ในหัตถบาสและประตูเมือง รวมถึงการเข้าใจและตีความคำพูดของพระผู้มีพระภาคอย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้เนื้อหายังชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการเข้าใจอุปจารเดียวกัน และอุปจารต่างกันระหว่างข้อความ โดยมีการใช้ตัวอย่างและการอ้างอิงบทต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้มีความเข้าใจที่ชัดเจนมากขึ้น ในทุกบทควรทราบความหมายที่มีเครื่องล้อมและไม่มีเครื่องล้อม เพื่อให้เป็นไปตามคำสอน

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์อุปจาร
-การตีความพระบาลี
-การใช้ศัพท์ต่าง ๆ ในบริบท
-ความสำคัญของอุปจาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประจำวันที่- ดูดสิ่งสนับจากกามแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 281 เฉพาะในหัตถบาตทางข้างหน้า หรือ ทางข้างหลัง (แห่งเรือนนั้น) แต่ภิญญาเก็บ (อิวร) ฝาคไว้ในสภา พึงให้อยู่รู้นั้นในสภา หรือ ที่ใกล้ประตูเมือง ตรงหน้าสภานั้น หรือว่า ในหัตถบาสแห่งสภา หรือที่ใกล้ประตูเมืองนั้นแหละ ด้วยวาท อบริญจิตโต นี้ ท่านแสดงความที่บ้านนั้นนั้นแหละ มีอุปจารต่างกัน พึงทราบความอุปจารเดียวกัน และมีอุปจารต่าง กันในบททั้งปวง โดยคุณอย่ากนี้เหมือนกัน. แต่ในพระบาลีพระผู้มี พระภาคทรงยกมาดากนี้เพียงบทเดียว อันอยู่ในดั้น ดังนี้ ว่่า "บ้านชื่อว่า มีอุปจารเดียว" และฉันถึงอยู่ในที่สุดอย่างนี้ว่า "ที่แจ้ง ชื่อว่า มีอุปจารเดียว" แล้วขยายบทขนภาษจะให้ผิดสาร. เพราะฉะนั้น ในทุก ๆ บท พึงทราบความอุปจารเดียวกัน ด้วย อำนาจแห่งมีเครื่องล้อมเป็นต้น และความอุปจารต่างกัน ด้วย อำนาจแห่งไม่มีเครื่องล้อมเป็นต้น โดยท่านเองแห่งนั้นนั้นแหละ ในนิวาศ (เรือนพัก) เป็นต้น มีวินิจฉัย ดังนี้ บทว่า โอฬารนี้ เป็นคำยกเรียกห้องทั้งหลายเท่านั้น บทว่า หฤทุปลาว ได้แก่ จากหัตถบาสแห่งห้อง หรือ แห่งเรือน บทว่า ทุตฺตุมเตล ได้แก่ ในที่ใกล้ประตูเรือนอันสาระนะ แก่น้ำทั้งปวงดี บทว่า หฤทุปลาว ได้แก่ จากหัตถบาสแห่งห้อง หรือแห่ง เรือน หรือ แห่งที่ใกล้ประตูเรือน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More