น้ำมันงาและการปฏิบัติในกสิกรรม ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 404
หน้าที่ 404 / 450

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันงาในกสิกรรม โดยอธิบายหลักการในการใช้ น้ำมันงาที่สามารถรับประเคนได้และไม่มีอาบัติ รวมถึงการเตรียมและการเก็บรักษา ต้องปฏิบัติตามวิธีที่กล่าวถึงเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและความเหมาะสมในกิริยา. อีกทั้งยังมีการระบุลักษณะของน้ำมันที่ไม่เหมาะสมในบางกรณีอย่างชัดเจน. ความรู้เกี่ยวกับการใช้และการเก็บรักษาน้ำมันงาสำคัญต่อการบริโภคอย่างปลอดภัยและถูกต้องในกสิกรรม.

หัวข้อประเด็น

- น้ำมันงาในกสิกรรม
- การรับประเคนและอาบัติ
- ปริสดาและปัจจาก็ด
- วิธีการใช้และเก็บน้ำมันงา
- ความเหมาะสมในการบริโภค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (๑) - ดูยอดสมุนปลาสากทากแปลภาค ๑ - หน้าที่ 403 [อธิบายวิธีปฏิบัติในกสิกรรม คือมัน] บรรดาจำพวกน้ำมัน จะว่าถึงน้ำมันงาดำ ก่อนที่รังประเคนก่อน ฉัน แม้มือตอกิม ย่อนด่วน ในเวลาก่อนฉัน ตั้งแต่หลังฉันไป ปราศจากอิ่มเท่านี้จงควร ผู้กิฟยา พึงทราบความที่น้ำมันงานนั้น เป็นนิสสกิยะ ด้วยจำนวนภาชนะ เพราะล่วง ๑ วันไป น้ำมันงาที่ รับประเคนภายหลังฉัน ปราศจากอิ่มเท่านี้ จึงควร ตลอด ๓ วัน. จะดื่มกินน้ำมันงามนี้ทำให้เป็นคอศึกเก็บไว้ไม่ควร. ควรอ่อน เข้าไปในกิริยาการทีละเป็นต้น แมในเพราะล่วง ๓ วันไป ก็ไม่ เป็นอาบัติ. น้ำมันที่กูรับประเคนเมื่อลงในปริสดา เถืออิ่มสิ ย่อมควร ในปริสดา ตั้งแต่ปัจจาก็ดไปเป็นของไม่ควรลิ้นกิน. พึง น้องไปในกิริยาการทีละเป็นต้น แมในเมื่อล่วง ๓ วันไป ก็ไม่ เป็นอาบัติ. น้ำมันที่กูรับประเคนเมื่อลงในปัจจาก็ดแล้วว่า เป็น ของไม่ควรลิ้นเกินเหมือนกัน เพราะรับประเคนทั้งวัตถุ. แมในเมื่อล่วง ๓ วันไป ก็ไม่เป็นอาบัติ. พึงน้อมเข้าไปในกิริยาการทีละเป็นต้น. แม้น้ำมันที่ทำด้วยเมล็ดงาที่กิญฉับต้องในปริสดา หรือในปัจจาก็ดี ก็มีอย่าเหมือนกันนี้เหมือนกัน. น้ำมันที่คว้ามีลักษณะซึ่งกิญรับประเคนในปริสดา แล้วฉี่งแผง หรือให้นุ่มด้วยน้ำอุ่นน่า, ถ้าอนุปลัมบัติทำ แม้เจืออิ่ม ย่อมควร ในปริสดา ที่คนทำเอง เพราะปล่อนวัตถุดอกแล้ว ไม่มีอามิสเลย จึงควรในปริสดา. เพราะเป็นน้ำมันที่เจ้าของ เจืออัมลีจไม่ควร. ก็เพราะเป็นของได้รับประเคนพร้อมทั้งวัตถุ แม้ทั้งสองอย่าง จึงไม่ควร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More