ทัศนสมานปาติกกานาเปล ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 49
หน้าที่ 49 / 450

สรุปเนื้อหา

บทนี้สอนเกี่ยวกับการรู้สิ่งที่ถูกต้องของภิกษุในสถานการณ์ต่าง ๆ และความสัมพันธ์กับการเกิดอาบัติหรือไม่ ที่ภิกษุไม่ยึดติดหรือสับสนเกี่ยวกับเพศ และการรับรู้ในทางที่ไม่ทำให้เกิดอาบัติ ศึกษาความเข้าใจและการชี้แจงเรื่องนี้เพื่อให้เข้าใจถึงธรรมชาติของการปฏิบัติในชีวิตจริงได้ดีขึ้น โดยเน้นที่การรู้จักบริบทและการตอบสนองอย่างเหมาะสมในสถานการณ์ที่ซับซ้อนต่างๆ ทั้งหมดนี้ส่งผลต่อการปฏิบัติที่ถูกต้องในศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ทัศนคติของภิกษุ
-ความเข้าใจในอาบัติ
-สถานการณ์ซับซ้อน
-การรู้จักบริบท
-การปฏิบัติในชีวิตจริง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค) - ทัศนสมานปาติกกานาเปล กาด - หน้า 49 เป็นผู้มึงเองเสียด้วยคิดว่า ' หล่อนองมา ก่อน, เราจักดี หรือ ผล หล่อนแล้วก็ลากไปเสียจากนั่น ภิกษุนี้ พึงทราบว่า มีความประสงค์จะ พ้นไปไม่พยายามด้วยกาย ทั้งไม่รู้สึกสะดะ." บทว่า ออตฐังจุด มีความว่า ไม่งงใจว่า " เราจักถูกผู้หญิง คนนี้ ด้วยอุบายนี้" จริงอยู่ เพราะไม่งงใจอย่างนั้น เมื่อภิกษุแม่ ถูกต้องตัวมาตามเข้าในกราวที่รับบาตรเป็นต้น ย่อมไม่อาบัติดิ. บทว่า อตสิตา มีความว่า ภิกษุเป็นผู้ส่งใจไปในอื่น คือ ไม่มี ความนึกกว่า " เราจักถูกต้องมาตาม" เพราะไม่มีสิตอย่างนี ไม่เป็นอาบัติดิแก่ภูกต้องในเวลาเหยียดมือและเท้าเป็นต้น. บทว่า อานนุตสุต มีความว่า ภิกษุเห็นเด็กหญิงมีเพศคล้าย เด็กชาย ไม่รู้ว่า 'เป็นผู้หญิง' ถูกต้องด้วยกรรณีย์อย่างนั่น, ไม่เป็นอาบัติดิแก่ผู้ไม่รู้ว่า 'เป็นผู้หญิง' และถูกต้องด้วยอาการ อย่างนี้. บทว่า อาทิณฑุตสุต มีความว่า ไม่เป็นอาบัติดิแก่ผู้ไม่ ยินดัวยอาราคัลลังด้วยกาย เหมือนไม่เป็นอาบัติดิแก่ผู้ถูกผู้หญิงจัง แทนกันและกันอพาไป นั่น. ภิกษุจึงเป็นตน มีชื่อกล่าว แล้วแต่. และพระอุทัยเภระเป็นอาทิกมิมิจะในสิกขาบทนี้ ไม่เป็น อาบัติแก่ท่านผู้เป็นอาทิกมิมิจะนั้น ฉะนั้นแหละ. บทกาญจียรรณา ขบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More