การเคลื่อนที่ของสุกกะและพฤติกรรมภิฏฐูในพระธรรมคำสอน ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 16
หน้าที่ 16 / 450

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหาได้มีการกล่าวถึงการเคลื่อนที่ของสุกกะในบทบาทต่าง ๆ โดยอธิบายถึงอาการของภิฏฐูที่เกี่ยวข้องกับการเล่นและความพยายามในการกระทำที่ถูกต้องด้วยอำนาจแห่งภายใน. พระผู้มีพระภาคจึงชี้ให้เห็นถึงลักษณะและความสำคัญของการกระทำที่หลากหลาย และพลังแห่งความตั้งใจที่นำไปสู่การเคลื่อนของสุกกะ. บทความยังกล่าวถึงการกระทำที่ถูกต้องและความสัมพันธ์ระหว่างความจงใจและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน. ข้อมูลจะเชื่อมโยงกับที่มาของการสอนในคัมภีร์ที่มีชื่อเสียง.

หัวข้อประเด็น

- การเคลื่อนที่ของสุกกะ
- พฤติกรรมของภิฏฐู
- ความสำคัญของความตั้งใจ
- แนวทางในพระธรรม
- พลังแห่งภายใน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ทู้ถมสนปากกาเปล กาด - หน้าที่ 16 อย่างนี้ว่า "เราจักรู้ก่อนว่า สุกกะที่เราปล่อยแล้ว จักเป็นสีเขียว หรือ สืออย่างใดอย่างหนึ่ง มีสีเหลืองเป็นต้น." บทว่า จีวาทาริปลอโย คือ ขวนขวายในการเล่น มีคำอธิบาย ว่า "ภิษฏายุ่งปล่อยเล่นโดยความประสงค์นั้น ๆ." [ อธิบายสุขกิจสังมิตรเสด็จ ] บัดนี้พระผู้มีพระภาค เมื่อจะแสดงอาการที่ภิฏฐูให้สุกกะ เคลื่อนต้องอาบันเตาและจำนวนชนิดคามาติ ด้วยอำนาจแห่งนั้น ทั้งหมด ในพระคัมภีร์ที่สรรเสริญว่า อภิญญาติรูป โมลี เป็นต้น จึงตรัสพระคัมภีร์ว่า "ภิฏฐูใจ คือ พยายามในรูภายใน, สุกกะเคลื่อน ต้องสังมิตรเสด็จ ดังนี้. บรรดาบทแห่งนั้น กล่าวว่า อตติ ความว่า ย่อมองใจว่า "สุกกะจะเคลื่อน ด้วยเขตนาที่ถึงความดีในกาให้เคลื่อน." บทว่า อุปกามติ ความว่า ย่อมกระทำความพยายามอัน สมควรแก่ความจงใจนั้น. บทว่า มูจจิต ความว่า เมื่อภิฏฐูงอใจอย่างนั้น พยายาม ด้วยความพยายามอันสมควรแก่ความจงใจนี้ สุกกะย่อมเคลื่อน จากฐาน. คำว่า อาปุตติ สุขมิติเสสด ส ความว่า ย่อมเป็นอาบัติ ชื่อสมติเสสด แก่ภิฏฐูนั้น ด้วยองค์ 3 เหล่านี้. แม้ใน ๒๘ บทที่ เหลือมีว่า พิทักษารูป เป็นพัน กันนี้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More