ทิวเขาสันปาปาสาหมากแขยง ภาค ๑ ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 252
หน้าที่ 252 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้แสดงถึงคำวิเคราะห์เกี่ยวกับ 'ทาลปกรม' ซึ่งถูกกำหนดไว้เป็นเวลา ๑๐ วัน รวมถึงการอธิบายความหมายและบทบาทของจิวรทั้ง ๖ ชนิด โดยเฉพาะจิวรที่มีชื่อว่า อติรก และการส่งมอบความรู้เกี่ยวกับการใช้งานของจิวรในทางพระพุทธศาสนา ทั้งนี้คือการแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเวลาและการพิจารณาในบริบททางจิตและจิตวิญญาณว่ามีบทบาทอย่างไรในการปฏิบัติธรรม

หัวข้อประเด็น

-วิเคราะห์คำว่า ทาลปกรม
-ความสำคัญของเวลา ๑๐ วัน
-จิวร ๖ ชนิด
-บทบาทของพระผู้พระภาคเจ้า
-การอธิบายจิวรที่ชื่อว่า อติรก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ทิวเขาสันปาปาสาหมากแขยง ภาค ๑ - หน้าที่ 251 แต่มันเป็นเครื่องที่ง่ายไม่ได้ เพราะว่าไว้ในชะอันไม่ควร บทว่า ทาลปกรม มีวิเคราะห์ว่า ๑๐ วัน เป็นคำกำหนดอย่างยิ่ง แห่งกณฑ์นั้น เพราะเหตุนี้ กาลนั้นจึงถือว่า ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง อธิบายว่า "จิวรั้น อันภิภูพุ่งทรงไว้ ตลอดกาลมี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง แต่เพื่อจะทรงแสดงแด่อตรถเท่านั้น ในกภาชนะ พระผู้พระภาคเจ้าตรัสว่า "พิธทรงไว้ได้ ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง." จริงอยู่ มิก็อธิบายว่า "ความเป็นกาลมี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ที่รสต์ไว้ในบทว่า "ทาลปกรม" นี้ ภาวะแห่งกาลมี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง 'นั้น' มีใจความดังนี้ว่า "พิธทรงไว้ได้ราวๆ ๑๐ วันซึ่งนั่นไม่ล่วงเลยไป." จิวรที่ชื่อว่า อติรก เพราะไม่บันเข้าไปจำพวกอติรกวิเศษ ด้วยเหตุนี้ ในบทบาทแห่งว่า อติรกวิเศษ นั้น จึงตรัสว่า "จิวร ที่ไม่ได้อธิบายและไม่ได้บอกไว้." [อธิบายคำศัพท์นิดหน่อย] น่าจะว่า อนุนิ จิวราน อญุตร มีความว่า บรรดาจิวร 6 ชนิด เหล่านี้ คือ จิวรผ้าปล่อยไม้ 1 จิวรผ้าฝ้าย 1 จิวรผ้าไหม 1 จิวรผ้ากัมพล 1 จิวรผ้าป่น 1 จิวรผสมกัน 1 จิวรอย่างใดอย่างหนึ่ง พระผู้พระภาคเจ้าทรงแสดงคำเนิดแห่งจิวร ด้วยคำว่า นน เตือนนี้แล้ว ดังนี้ เพื่อแสดงขนาด (แห่งจิวรนั้น) จึงตรัสว่า "จิวร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More