บทวิเคราะห์การทวงและการยืนในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 325
หน้าที่ 325 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการพิสูจน์ภาวะที่เกี่ยวข้องกับการทวงและการยืนของภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยนำเสนอว่าถ้าภิกษุรู้จักทวงและยืนในจำนวนครั้งที่กำหนด จะส่งผลต่อการปฏิบัติอย่างไร การแยกความสำคัญของการทวง ๖ ครั้งและการยืน ๑๒ ครั้ง รวมถึงการเผยให้เห็นถึงหลักการที่มีความเกี่ยวข้องกับบทเรียนและการดำเนินชีวิตในทางธรรม สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาจิตใจและการปฏิบัติในพระพุทธศาสนาได้.

หัวข้อประเด็น

-การทวงในพระพุทธศาสนา
-การยืนในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของภิกษุ
-หลักการปฏิบัติทางธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ทุดฺสมุนปลาสำกาเปล ภาค ๑ - หน้าที่ 324 พิสูจน์ได้ ๑๐ ครั้ง เหมือนอย่างที่ท่านกล่าวไว้ว่า "ทวง ๖ ครั้งแล้ว ไม่พิสูจน์ ฉันใด ยิน ๑๒ ครั้งแล้ว ก็ไม่พิสูจน์ทวง ฉันนั้น" ดังนี้ ก็มีเหมือนกัน เพราะฉะนั้น บัญติพิธีทราบวิจัยฉับในภาว และการ ยืนทั้งสองนั่นอย่างนี้ว่า "ถ้าภิกษุทวงอย่างเดียว ไม่ยืน ย่อมได้การ ทวง ๖ ครั้ง ถ้ายืนอย่างเดียว ไม่ทวง ย่อมได้การยืน ๑๒ ครั้ง ถ้า ทวงบ้าง ยืนบ้าง พึ่งตาการยืน ๒ ครั้ง ต่อการทวงครั้ง ๑, บรรดา การทวงและการยืนนันภูกจะไปทวงบ่อย ๆ วันเดียวเท่านั้นถึง ๖ ครั้ง, หรือว่า ไปเพียงครั้งเดียว แต่พูด ๆ ครั้งว่า "ผู้มีอายุ รูปต้อง การจีวร" อื่น ๆ ไปยืนบ่อย ๆ วันเดียวเท่านั้นถึง ๑๒ ครั้ง, หรือว่า ไปเพียงครั้งเดียว แต่ยืนในที่นั้น ๆ ๑๒ ครั้ง ภิกษุมันย่อมหนัก การทวงทั้งหมด และการยืนทั้งหมด ก็จะป่วยกล้าไปในเรื่อง หลักการทวงและการยืน ของภิกษุผู้กระทำอย่างนี้ ในต่างวันกันเล่า?" ข้อว่า ยอดสุต จิรวเจตนปน อาญภู มีความว่า ทรัพย์สำหรับ จำวิเศษ ที่นิมนต์มาเพื่อกิจนัน จากพระราชา หรือจากราชาคนตั๋ว ปฏิยะว่า ยอดสุต กม. เนื้อความอย่างนี้เหมือนกัน อาจารย์บอกพวก สอดว่า ยอดสุต กม. และกล่าวอรรถว่า "ทรัพย์สำหรับองค์ธรรม อันเขาส่งมาเพื่อกิจนันในที่ใด" แต่ว่า พรัญชนะ ไม่สมกัน บทว่า ตุตฺก มีความว่า ในสำนักงานแห่งพระราชา หรือว่า ราชอาณัตนัน. จริงอยู่ คำว่า ตตูด นี่ เป็นสตฺตมวิภัต ลงใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More