การซื้อขายตามหลักธรรม ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 373
หน้าที่ 373 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการซื้อขายในแง่มุมของพระพุทธศาสนา โดยยกตัวอย่างการเข้าถึงทัศนะและหลักการทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย โดยการวิเคราะห์ผ่านคำสอนของพระผู้พระภาคเจ้า อธิบายว่า การซื้อขายมีสามัญญัติและความแตกต่างในสิ่งที่พิจารณาเช่น วัตถุดีและวัตถุที่ไม่ดี และสอนให้เข้าใจว่าการที่เป็นอนาปัตนั้นขึ้นอยู่กับมากน้อยของการรับและมูลค่า ด้วยการอ้างถึงหลักธรรมเพื่อทำให้การซื้อขายเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในศีลธรรมในสังคม

หัวข้อประเด็น

-การซื้อขายในพระพุทธศาสนา
-หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ
-จริยธรรมในการแลกเปลี่ยน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (๑) - ดูอธิบายปลาสำนักงานแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 372 ส่วนในธรรถถันอันธกะ ท่านกล่าวว่า "ถ้าภิกขึงการซื้อขายเป็นนิสสักกียบิดิตย์" คำนี้ ท่านกล่าวไว้ไม่ชอบ เพราะเหตุไร ? เพราะเชื่อว่าการซื้อขาย นอกจากการให้และการรับ ไม่มี. และกิริยสักกบทธ พระผู้พระภาคเจ้าตรัสหมายเหตุการแลกเปลี่ยนกับปิยวาทูด้วยกปิยวาทูเท่านนั้น. ก็แลกการเปลี่ยนนันออกจากพวกสรรรมิก. สิกขาบทนี้ พระผู้พระภาคเจ้าตรัสหมายเหตุการซื้อขายปิยะและสิ่งมิใช่ปิยะด้วยอุปลิยะและการซื้อขายปิยะด้วยสิ่งมิใช่ปิยะ, ส่วนการซื้อขายวัดดูแห่งทุกกฎด้วยดวงวัตถุแห่งทุกกฎ มิโดรัสไว้ในนาบาลิโกสิกขาบทนี้ (และ) มิได้ตรงไวในนาบาลิโกสิกขาบทนั้นเลย. ก็ในการซื้อขายวัดดูแห่งทุกกฎ ด้วยวัตถุแห่งทุกกฎนี้ไม่ควรจะ (เป็นอนาปัต) เพราะฉะนั้น พวกอาจารย์ผู้พุทธะรณแห่งพระผู้พระภาคเจ้า จึงได้กล่าวว่า "ในเพราะรับวัตถุแห่งทุกกฎ เป็นทุกกฎฉันใด, แม้ในเพราะซื้อขายวัตถุแห่งทุกกฎนั้น ด้วยวัตถุแห่งทุกกฎนี้นั้นและเป็นทุกกฎ ก็ชอบแล้ว ฉันนั้นเหมือนกัน." องค์ เมื่อกิริยาซื้อขายด้วยนิสสักกี้ ด้วยปิยวัตถุ เป็นอนานาติด้วยสิกขาบทก่อนในเพราะการรับมูลค่า, เป็นนิสสักกียบิดิตย์ ด้วยสิกขาบทนี้ ในเพราะแลกเปลี่ยนภายหลัง สมจริงดังคำพระผู้พระภาคเจ้าเจ้าตรัสไว้ว่า "ภิกขุมความสำคัญในสิ่งมิใช่ปิยะว่าไม่ใช่ปิยะซึ่งบูชาฯ เป็นนิสสักกียบิดิตย์" เมื่อกิริยะซื้อขายวัตถุดังแห่งทุกกฎด้วยปิยวัตถุนี้นั้นแหละ ไม่เป็นอาบัติ เหมือนอย่างนั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More