การถวายแก่สงฆ์ในพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 447
หน้าที่ 447 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการถวายสิ่งของแก่สงฆ์โดยตรงในพุทธศาสนา และรายละเอียดย่อยเกี่ยวกับสิ่งที่ควรต้องทำเมื่อถวายให้แก่สงฆ์ รวมถึงการสร้างสันติในสังคมและธรรมะที่เกี่ยวข้องกับการถวายสิ่งของนี้ บทบัญญัติในการถวายสิ่งของ จึงมีความสำคัญที่มากกว่าการมอบของ แต่เป็นการสร้างสันติภาพในสังคมตลอดจนการทำความดีที่มีอยู่ในกระบวนการถวายนี้

หัวข้อประเด็น

-การถวายแก่สงฆ์
-ความสำคัญของการถวาย
-แนวทางการถวายในพุทธศาสนา
-การสร้างสันติในสังคม
-ธรรมะที่เกี่ยวข้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ทุ่งสมันป่าสักกาแปล ภาค ๑ - หน้า 446 ของสงฆ์โดยตรงที่เดียว ด้วยอำนาจแห่งการขยายความ อย่างนี้ว่า "ที่ชื่อว่าสงฆ์ ได้แก่ ของที่เขาถวายแล้ว บริจาคแล้วแก่สงฆ์." พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าที่สงฆ์ว่านั้น ว่า ลว. ด้วยเหตุนี้แล ในในสงแต่งว่า ลว. นั้น จึงตรัสว่า จริงปี เป็นต้น. ปริณาย ได้แก่ ที่เขาถวายสงฆ์ คือ ที่เขาตั้งไว้เป็นของโอนไป เพื่อสงฆ์ เอาไปเพื่อสงฆ์ ก็เพื่อรองแสดงกิริยาบนให้เป็นเหตุที่น่าน้อม ลากนั้นไป พระผู้พระภาคเจ้าตรัสว่าถึงว่า "คือ ที่เขาเปล่ง วาจาว่า 'พวกข้าพเจ้า จักถวาย จักกระทำ' ดังนี้. สองบทว่า ปิยคต ทุกถุ มีความว่า เป็นทุกถุ ทุกประโยค ที่น้อมลากขึ้นน้อมไป (เพื่อสงฆ์) มาเพื่อคน. เป็นนิสัยสันติ เพราะได้มา คือ เพราะลากนั้นถึงโย. แต่ถ้าว่าของนั้นเป็นอันเขาถวาย สงฆ์แล้ว จะรับขององค์เขาถวายสงฆ์แล้วนั้นมา ไม่ควร, พึงถวาย แก่สงฆ์นั้นแล. ก็ถกฏได้ พลอภินิจกับพวกคนวัด, สงฆ์จึงให้ตีราคา ภัณฑะนั้น ปรับอาบัติแก่กุฏิฉัน. แต่เป็นนิสัยสันติอัดกิญจึง ผู้ว่าลาเขานอไปเพื่อสงฆ์ แล้วน้อมลากนี้น้อมไปแล้วของพวก สหธรรมิกดีดี ของพวกกุศลสกดีดี โดยที่สุดแม้ของมรรคา มาเพื่อ ตนว่า "ท่านจงให้สิ่งนี้แก่เรา" แล้วถือเอา. เป็นปัจจิตีย่อม ๆ แก่กุฏิผู้บังคับไปเพื่อคนอ่อนอย่างนี้ว่า "ท่านจงให้แก่กุฏิญู" ก็ถกญ น้อมมาตรไปรบหนึ่ง หรือจูงีรฟืนหนึ่งมาพ่อคน น้อมไปเพื่อคนอันใดหนึ่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More