วินัยธรรมและการปล่อยในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 26
หน้าที่ 26 / 450

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงหลักวินัยธรรมที่เกี่ยวข้องกับภิกษุ ทั้งการลงมือกระทำตามวินัยและเจตนาที่สัมพันธ์กับการปล่อย ความควรระวังในการกระทำเพื่อไม่ให้เกิดอาบัติ รวมถึงการทราบถึงความหมายของคำว่าเจตนา การพยายาม และอาบัติซึ่งสามารถเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นจากการกระทำตามหลักธรรมต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-วินัยธรรม
-ภิกษุ
-การปล่อย
-อาบัติ
-เจตนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดธนิมปา สาหรับกาเปลอก - หน้าที่ 26 เป็นภคุกิต พึงบอกว่า " เป็นภคุกิต." และพึงกระทำวินัยธรรมให้สมควรแก่บังคับนั้น ๆ. จริงอยู่ วินัยธรรมที่ทำแล้วอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นกิจกรรมที่ดีแล้ว ดูหมอทรงอุซฏฑุ ที่ปรุงยาค้วนปรุงยาคั้นนั้น และอ่อนเป็นไปเพื่อความสวัสดิ์แก่บุคคลผู้นั้น พึงทราบวินัยฉันในคำว่า เจตตน อุปกมิต เป็นต้น ดังนี้:- ภิกษุจงใจด้วยเจตนานิยมที่จะปล่อย แต่ไม่พยายาม อุตจิเลื่อมไม่เป็นอาบัติ ภิกษุถูกความมินีในทำการปล่อยบิบนั้นแล้ว จงใจว่า " ไฉนหนอ! อสุจิจะพิงเคลื่อนไป" แต่ไม่พยายาม อุตจิไม่เคลื่อนไม่เป็นอาบัติ ภิกษุไม่จงใจด้วยความยินดีในการปล่อย พยายามด้วยความยินดีในผัสสะดี ด้วยความยินดีในการกันดี. อุตจิเลื่อม ไม่เป็นอาบัติ. ภิกษุไม่จงใจอย่างนี้เหมือนกัน แต่พยายาม อสุจิไม่เคลื่อนไปเป็นอาบัติ. ภิกษุเมื่อถึงกามวิดก ไม่งใจ ไม่พยายาม เพื่อความการปล่อย แต่จุฑิเลื่อม, ไม่เป็นอาบัติ. ถ้ามีภิกษุศรีถึงกามวิดกอยู่ อุตจิไม่เคลื่อนไป. คำนี้ เป็นคำที่ชำอ้างในกรรณถกวนว่า " ภิกษุไม่งใจ ไม่พยายาม อสุจิไม่เคลื่อนไป" ดังนี้. คำว่า อนานุตติ สุบูปนเตน ความว่า เมื่อกิริยาหลับแล้ว ฝันเหมือนว่า เสพเมถุนธรรมดี ฝันเหมือนว่าถึงความเสคล่องคลึงกาย (มาตกาม) เป็นต้นดี. ไม่เป็นอาบัติแต่กิริยามืออสุจิคลื่นเพราะเหตุในความฝันนั้นเลย. แต่เมื่อฌานอันดีจิบในความฝัน ถ้าก า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More