ทฤษฎีสนมปาสากาเปล ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 35
หน้าที่ 35 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจทฤษฎีสนมปาสากาเปลทางศาสนา โดยเน้นที่การเคล้าคลึงกาย และการพัฒนาทางจิตใจในผู้ที่มีสมาธิ ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความประพฤติและการแสดงโดยในมุมของพระภาคเจ้า เนื้อหาของบทความศึกษาทั้งสองบทที่มีบทบาทสำคัญต่อการจัดการความเคลื่อนไหวยังวัตถุ อย่างเช่น การนำเสนอเกี่ยวกับ พระผู้มพระภาคในการแสดงแนวทางการทำความดี

หัวข้อประเด็น

-ทฤษฎีสนมปาสากาเปล
-การเคล้าคลึงกาย
-การทำสมาธิ
-พระผู้มพระภาค
-ความประพฤติในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ทฤษฎีสนมปาสากาเปล กาด - หน้าที่ 35 บทว่า ตูชาฑา ได้แก่ เด็กหญิงที่เกิดในวันนั้น คือ สักว่า เกิด ยังมีสีเป็นชื้นเนื้อสด. จริงอยู่ ในเพราะการเคล้าคลึงกายกับเด็กหญิง แม่เห็นนานนี้ ก็อาจเป็นสง่ามัทสด. ในพระถ้ากำลังด้วยสมาธิ ย่อมเป็นปราชญ์, และในเพราะยืนดีอะโรโนอิชะะ ย่อมเป็น ปาญติย์ บทว่า ปฤว ได้แก่ ก่อนที่เดี่ยว สองบทว่า กายสุตคุ สุมปุชูยุ มีความว่า พึงถึงความ ประจิตกายมีมือเป็นต้น คือ ความเป็นผู้เคล้าคลึงด้วยกาย. ก็าย- สังสักคะของภูผู้นำถึงความเคล้าคลึงด้วยกายนนแหละ โดยใจความ ย่อมเป็นอัจฉราจ, คือ ความประพฤติล่วงเดนแห่งสำรวมด้วยอำนาจ ราะ, เพราะเหตุนี้ พระผู้มพระภาคเมื่อทรงแสดงนิ้วความโดย ย่อแหงสองบทนั้น จึงสร้างบทวา" เราเรือก่อฉลาด บทว่า หฤฤูกาม วา เป็นต้น เป็นบทนำบทของสองบทนั้น ท่านแสดงโดยพิศดาร ในสิกขาบทนี้. พระผู้มพระภาคตรัสเป็นต้นว่า หฤโณ นาม คุปปะ อุปาทาย เพื่อแสดงวิกาแก่พี่ชาย เป็นต้น ในบทบทนั้น บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า คุปปะ อุปาทาย มีความว่า หมายถึงต่อใหญ่ที่สอง (ตั้งแต่ข้อคอกลางไป). แต่ในที่อื่นนี้แต่ต้น แหมายถึงปลายเสี้ยน จัดเป็นมือ. ในที่นี้ ประสงค์ตั้งแต่ข้ออกพร้อมทั้ง ปลายเสี้ยน บทว่า สุทธเกสาน วา ได้แก่ ผมที่ไม่เจือด้วยด้ายเป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More