จิตวรรณกรรมที่ ๘: อุปกุลอิงลาขในความหมาย ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 315
หน้าที่ 315 / 450

สรุปเนื้อหา

สรุปการวิเคราะห์อุปกุลอิงลาขและความหมายของคำต่างๆในจิตวรรณกรรมที่ ๘ โดยเน้นการตีความที่สำคัญ เช่น ความหมายของคำว่า อุณฑุลโล และ อนิมยาน พร้อมกับการเชื่อมโยงไปยังบทบาทของภิกขุในทางปฏิบัติและการใช้ทรัพย์สำหรับจ่ายจิวรรให้เกิดประโยชน์แก่ภิกษุ จัดเป็นองค์ความรู้ที่ชัดเจนและมีระบบ.

หัวข้อประเด็น

- อุปกุลอิงลาข
- อรรถลักษณะปฐมบัญญัติ
- อภิ เมยยาน
- ภิกขู ปาเว อุทิศสุด
- การเตรียมทรัพย์สำหรับภิกขุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (๑) – จุดส่วนปลากาสาแปลง ภาค ๑ หน้า ที่ 314 จิตวรรณกรรมที่ ๘ พรรณานำชูมุปภักฏิจิตวรรณ อุปกุลอิงลาขว่า เตม สมย เป็นดัง บ้านเจ้าจะกล่าว ต่อไป:- ในอุปกุลอิงลาขนั้น มีวินิจฉัย ดังต่อไปนี้:- [แก้อรรถลักษณะปฐมบัญญัติ] ในคำว่า อุณฑุลโล ม โส อุปกุลโก นี้ มีความอย่างนี้ ว่า "ท่านผู้มีอายุ ! บุญที่ท่านดูดิง เห็นบนนั้นนั้น เป็นอุปกุล ของผม มีอยู่." คำว่า อนิมยาน เอ๋อ โหติ มีความว่า ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ! ความจริง ผมตั้งใจไว้อย่างนั้น. ปะว่าว่า อภิ เมยยาน เอ๋อ โหติ แลว่า ข้าพเจ้ารอคอยท่านนี้ดี. ถึงผมมีความคิดอย่างนี้ ดังนี้ คำมี. บทว่า อุทิศสุด ที่อยู่ในคำว่า ภิกขู ปาเว อุทิศสุด นี้ มีอรรถว่า อ้างถึง คือ ปราถถึง. ก็ เพราะทรัพย์สำหรับจ่ายจิวรร ที่พ่อเจ้าร่อนกีด แม้เจ้าร่อนกีด ตระเตรียมไว้เฉพาะภิกขู จัดว่า เป็นอนันตรเตรียมแล้ว เพื่อประโยชน์แก่ภิกษุนั้น, ฉะนั้น ใน บทว่าชนะแห่งว่า ภิกขู ปาเว อุทิศสุด นั้น ท่านพระอุบาลี กล่าวว่า "เพื่อประโยชน์แก่ภิกขุ." [แก้อรรถลักษณะวิเคราะห์คำด้วยทรัพย์สำหรับจ่ายจิวรร] คำว่า ภิกขุ อามมุขิ ครีตว ไว้แต่ กระทำกุให้เป็น ปัจจัย.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More