การศึกษาและการประพฤติดีในพระธรรม ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 204
หน้าที่ 204 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการประพฤติดีและการปฏิบัติตามคำสอนในพระธรรม ซึ่งเน้นถึงความสำคัญของการทำดีและการปลูกไม้ดอก โดยใช้คำอธิบายถึงการกระทำที่ถูกต้องและไม่มีมารยาทที่อาจส่งผลเสียต่อผู้อื่น การทำสิ่งดีควรมีการช่วยเหลือกันและแบ่งปันความรับผิดชอบ นอกจากนี้ยังมีการอ้างอิงถึงลักษณะต่างๆ ที่ผู้ศึกษาแต่ละคนควรรู้ เช่น อภิปรายโวหาร, กัปปิโวหาร, และปริยาย ในการศึกษาหลักธรรมนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้คนมีความเข้าใจและปฏิบัติตามพระธรรมอย่างถูกต้องที่ www.dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การประพฤติดี
-คุณค่าของการทำดี
-การปลูกมไม้ดอก
-ลักษณะของพระธรรม
-การศึกษาพระธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๑) - ทิวดเสนตดสาภากาเปล ภาค ๑ - หน้าที่ 203 ไม่เคยมีใครทำด้วย ย่อมพากันยึดอาชาบนที่รองบัญญัติไว้แล้วด้วย เพราะเหตุนัน พระธรรมสังขาะกะทังหลายจึงกล่าวว่า อลุซชิโน ํ ปาฎิโมกุฏิ ดังนี้ บทว่า เอวรุป ได้แก้ มีภาพนิดอยางนี้ สงทว่า อนาจจ อาจารนติ ความว่า ย่อมประพฤติดีล่วง มารยาทที่ไม่ควรประพฤติ คือ กระทำสิ่งที่ไม่ควรทำ." บทว่า มาลาวตุ ไดแก้ ตนไม้ดอกดูด (กอไม้ดอก) จริงอยู่ ตนไม้ดอกก็ดี กอไม้ดอกก็ดี ที่ดอกยังดุม ท่านเรียกว่า กอไม้ดอกทั้งนัน. ก็ติกุฌลานั้น ปลูกเองบ้าง ให้คนอื่นปลูกบ้าง ซึ่งกอไม้ดอกมักมีชนิดต่าง ๆ กันมากมาย. ด้วยเหตุนั้น พระ ธรรมสังขทะทั้งหลายจึงกล่าวว่า มาลาวตู โรปปุตติ โรปปุตติ ดังนี้ บทว่า ลิษญุตาติ ได้แก้ ย่อมรดน้ำเองบ้าง บทว่า ลิษญาปณทุติ ได้แก้ ย่อมใช้ให้คนอื่นรดบ้าง [อธิบายลักษณะ ๕ มือฉบับโวหารเป็นต้น] ก็ในอธิปกัน ผู้ศึกษาพึงราบลักษณะ ๕ อย่าง เหล่านี้ คือ อภิปรายโวหาร ๑ กัปปิโวหาร ๑ ปริยาย ๑ โอกาส ๑ นิมิตตกรณ์ ๑ บรรดาลักษณะ ๕ เหล่านัน ที่มีชื่อว่า อภิปรายโวหาร ได้แก้ การต้อน การใช้ให้คลาดพามของสติอิย การูดอง การใช้ให้บุ่มพูด การปลูกเอง การใช้ไปปลูกอไมดอก การก่อเอง การใช้ให้ก่อคั้นกัน การรดน้อง การให้ใช้น้ำ การทำงานให้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More