ทุ่งสมันดปาสากลากแปล ภาค ๑ หน้า 143 ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 144
หน้าที่ 144 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงเรื่องของอานาแห่งสัญญา ว่าด้วยการเห็นและการได้ยินว่าเป็นจริงหรือไม่จริง การได้เห็นนั้นแบ่งเป็นมีมูลและไม่มีมูลตามที่ปรากฏว่าเห็นหรือไม่เห็นตามคำพูดของผู้นั้น รวมถึงการอธิบายถึงการโดนมองว่ามีหรือไม่มีมูลจากการคำที่เกิดขึ้นซึ่งจะต้องมีการอ้างอิงถึงการเห็นและการได้ยินที่พิสูจน์ได้ตามมัลนี้

หัวข้อประเด็น

-อานาแห่งสัญญา
-การเห็นที่มีมูล
-การเห็นที่ไม่มีมูล
-การได้ยินและการทราบ
-การโจทเองและให้ผู้อื่นโจท

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ทุ่งสมันดปาสากลากแปล ภาค ๑ หน้า ที่ 143 เรื่องที่ร่งเกี่ยวข้องด้วยอานาได้เห็นนั่นเอง มีมูลด้วยอานาแห่งสัญญามีมั่ง, ไม่มีมูลด้วยอานาแห่งสัญญามีมั่ง. ในเรื่องที่ร่งเกี่ยว ด้วยการาได้เช่น และการได้ทราบในที่นี้. ในคำว่า มีมูลเป็นดังนั้น เรื่องได้เห็นที่ชื่อว่ามีมูล คือ เขาได้ เห็นภูกูต้องปรากฏจริง ๆ แล้วกล่าวว่า " ขาพเจ้าห็น." ที่ชื่อว่า ไม่มีมูล คือ เขาเห็นภูกูออกมาจากโอกาสก็บัง แดไม่เห็นการล่วง จะมิด กล่าวว่า " ขาพเจ้เห็น." เรื่องที่เห็นนั่นเอง ชื่อว่า มีมูล ด้วยอานาแห่งสัญญา คือ เขาเขพังแต่ได้เห็นเท่านั้น เป็นผู้มีความ สำคัญว่าได้เห็น แล้วโจท. ที่ชื่อว่า ไม่มีมูลด้วยอานาแห่งสัญญา คือ ในเบื้องต้น เขาเห็นการล่วงละเมิดด้วยปราชญ ภายหลังกลับเกิด มีความสำคัญว่า ไม่มีเห็น. ผู้นั้นทำให้ไม่มีมูลด้วยสัญญา แล้ว โจทว่า " ขาพเจ้าห็น." แมเรื่องร่งเกี่ยวด้วยอานาแห่งการได้ยิน และได้ทราบ ก็พิสูจน์ตามมัลนี้แหละ. ก็นิสาขาบนนี้ เมื่อ ภูกูโจทก็ดูที่นเห็น แม้โดยอาการทุกอย่าง ด้วยปราชญที่มีมูล หรือ มีมูลด้วยอานาแห่งสัญญา. ไม่เป็นอาบัติ. เป็นอาบัติแต่เฉพาะ ภูกูโจท ด้วยปราชญอ่อนหนุมลมได้ หรือ ไม่มีมูลด้วยอานา แห่งสัญญา. บทว่า อนุทูเทย ได้แก่ พึงจำจํา คือ พึงจํา จงบูญ ครองง. ก็เพราะภูกูโจทด้วยตนเองดี ใช้ให้ผู้อื่นโจทก็ดี ชื่อว่า ย่อมทำการกำดำเนินทั้งนั้น; ฉะนั้น ในบทวาทนะ ท่านพระอุณลี จึงกล่าวว่า " โจทเองก็ดตาม usedให้ผู้อื่นโจทก็ดตาม."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More