การสร้างมาสกไม้และมาสกยางในประเพณีท้องถิ่น ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 358
หน้าที่ 358 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการทำมาสกไม้และมาสกยาง ที่มีการใช้ประโยชน์ในกิจกรรมการซื้อขายในชนบท โดยอธิบายถึงประเภทของมาสกที่ถูกสร้างขึ้นด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม้ แก่นดี ใบตาล และกระดูก รวมถึงการทำมาสกเงินและทองทั้งหลาย สรุปการใช้มาสกในชนบทเพื่อการค้าและประโยชน์แก่ชุมชน การจัดประเภทมาสกตามวัตถุและการใช้งานต่าง ๆ พร้อมทั้งการกล่าวถึงวัดและประเภทของสินค้าที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อประเด็น

-การสร้างมาสกไม้
-การสร้างมาสกยาง
-วัตถุที่ใช้ในการทำมาสก
-การซื้อขายในชนบท
-การใช้งานมาสกในการค้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (คง) - ดูดซับน้ำสางปลากาแปลง ภาค ๑ หน้า 357 มาสกท้าที่ใด้ด้วยไม้แก่นดี ด้วยขอไม้ให้ดี โดยที่สุดแม้วาสก ที่ทำด้วยใบตาลสากเป็นรูป ก็ชื่อว่า มาสกไม้ มาสกที่เขาทำด้วยครั่งดี ด้วยยางดี ดบนให้ดูรูปขึ้น ชื่อว่า มาสกยาง ก็ด้วยขาวว่า เผย โอวาร คงอนติ นี้ ท่านสงเคราะหามาสก ทั้งหมดที่ใช้บนมาตราซื้อขายในชนบท ในเวลาซื้อขายกัน โดยที่สุด ทำด้วยกระดูกบ้าง ทำด้วยหนังบ้าง ทำด้วยเสดผลไม้บ้าง คุณ ให้เป็นรูปบ้าง มีใตุ้ณให้เป็นรูปบ้าง วัตถุ ๔ อย่าง คือ "เงิน ทอง ทั้งหมดนี้อย่างนี้ (และ) มาสกทอง มาสกเงิน มีประเภทดังกล่าว แล้วแม้ทั้งหมด" จัดเป็นวัดแห่งนิติศาสตร์คือ ยวัดนี้ คือ มุกดา มณี ไพฑูรย์ สังค์ ศิล ประภาท ทับทิม บุษราคัม ธัญชาติ ๗ ชนิด ทาสหญิง ทาสชาย นาไร่ สวนดอกไม้ สวนผลไม้เป็นต้น จัดเป็นวัดดู แห่งทุกกุฎ. วัตรนี้ คือ ค่าย ผลใจ ฝ้าย อปิศวนชาติเมือน- ประกาส และอ้างัซ มีเมนไช เนยบัน น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำองุ่นเป็นต้น จัดเป็นกับโปแป๋ดดู บรรดนิสสักคือวัดดูและทุกวัดดูนี้ ภัญจะรับนิสสักดูดูด เพื่อประโยชน์ตนเอง หรือเพื่อประโยชน์แก่ส่งค์ คณะ บุคคลและเจดีย์ เป็นต้น ย่อมไม่ควร เป็นนิสสักนี้ปัจฉิมดี แก่ภิกษุผู้รับเพื่อ ประโยชน์แก่ตนเอง เป็นทุกข์แก่ภิกษุรับเพื่อประโยชน์แก่สิ่งที่เหลือ เป็นทุกข์อย่างเดียว แก่ภิกษุรับทุกวัดดู เพื่อประโยชน์ทุกอย่าง ไม่เป็นอาบัติในกัปปิวัตฺ. เป็นปัจฉิมดีอำนาจที่มาในรตนสังค-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More