ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคฯ - ดูแต่สมุนดูแลทากหมายแปลง ภาค ๑ - หน้าที่ 249
กรรมมีจุฬากรรมเป็นที่สุด. ที่อิว่า กรรมมีจุฬากรรมเป็นที่สุด ได้แก่
การทำกรรมที่ควรทำด้วยใจอย่างใดอย่างหนึ่ง มีการติดรครามและลุกคุม
เป็นที่สุดแล้วก็เป็นหนึ่งไว้ (ในกล่องเขียว)
บทว่า นุชิ คือ ถูกพวกโจรเป็นต้นลักเอาไป. จรินั้น ท่านเรียกว่า ”สำเร็เจล” จึงเพราะความกลัว ด้วยการ
กระทำนั้นเอง สำเร็จลงแล้ว.
บทว่า วิญฺญู คือ ถูกพวกสัตว์มีปลวกเป็นต้นแล้ว.
บทว่า ทุกฺขุม คือ ถูกไฟไหม้.
สองบทว่า จิวราสา วา อุปฺฉินนาม มีความว่า หมดความ
หวังในวิจรซึ่งบังเกิดขึ้นว่า ”เราจักได้จรในตระกูลชื่อโน้น” ดี.
อันที่จริง ควรทราบความนี้อิวรามิทัตได้สำเร็จแล้ว เพราะความ
กังวลด้วยการกระทำนั้นเอง สำเร็จลงแล้ว.
สองบทว่า อุปฺพฤฺทธํ กิเลส คือ (เมื่อวิจรสำเร็จแล้ว)
และเมื่ออิวรินฺเสียนแล้ว. ด้วยบทว่า อุปฺพฤฺทธํ กิเลส นี้ พระผู้ม
พระภาคเจ้าทรงแสดงความไม่มีแห่งปลิโธมิ ๒ ก็ฉันนั้น อันภิญฺ
ทั้งหลาย ย่อมเฉดด้วยมิคาอย่างหนึ่งในบรรดามคติ ๘ หรือด้วย
การเฉดในระหวา่ง; เพราะฉะนั้น พระผู้มพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
อุปฺพฤฺทธํ มติคาํ เปนต้น ในบทเทศแห่งว่าด้วย อุปฺพฤฺทธํ กิเลส นั้น.