ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค (ตอน) - ดู้อสนัปปาสักกะบท ๑ - หน้า 185
แก้เธอเลย ดูกรเทวทัต! การทำอาสงฆ์นี้ หนักแล, ดูกรเทวทัติ!
บุคคลใดแล ทำอาสงฆ์นี้พร้อมเพรียงกัน. ผู้นั้น จะประสบกรรม
อันหยาบช้า ตั้งอยู่ชั่ววัน, จะถูกเผาในรกตลอดไป, ดูกรเทวทัต!
ส่วนบุคคลใดแล กระทำสงฆ์นี้แตกกันแล้วให้สมาคามกัน, ผู้นั้น
ยอมประสบบุญอันประเสริฐ บั้นเทิงในสวรรค์ตลอดกัป" ดังนี้.
บทว่า สมาคุตสุด ได้แก่ ผู้ร่วมกัน, อธิบายว่า "ผู้ไม่แยก
กันทั้งทางใจและทางกาย" จริงอยู่ แม้นายในภานะ พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าท่ีทรงแสดงเนื้อความอย่างนี้เหมือนกัน.
แท้จริง พระผู้มีพระภาคเจ้ามีอธิลองค์ว่า "สมานสาวโลก"
ย่อมเป็นอันทรงแสดงความไม่แยกกันทางจิต.
เมื่อรัรู้ว่า "สมานสวามี ฮิโต" ย่อมเป็นอันทรงแสดงความ
ไม่แยกกันทางกาย. คือ อย่างไร ? คือว่า ภิกษุผู้สมาสกัน
เว้นจากผู้มีสงวาสสมอันกันโดยลักษฏิ หรือ ผู้มีสงวาสสมอันโดยกรรม
ชื่อว่าเป็นผู้ไม่แยกกันทางจิต เพราะมิติมสมกัน, ผู้ต้องในสมา
สมกัน ถือว่า เป็นผู้ไม่แยกกันทางกาย เพราะให้ยานสมคี.
สองบทว่า เทกนสัจจตน วา อภิรณฺ ได้แก เหตุม which is
ไปเพื่อแตกแยกกัน คือ เพื่อดังคารทำอาสงค์.
จริงอยู่ ในโอกาสนี้ เหตุท่านประสงค์เอวา "อภิรณฺ" ดู
ในประโยคว่า กามเหตุ กามินทาน กามิยรณ (แปลว่า มีภาม
เป็นเหตุ มีภามเป็นต้นเหตุ มีภามเป็นมูลเหตุ). ก็เพราะอภิรณฺน
นั่น ๑๘ ประการ; ฉะนั้น ในภากษณะพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า