เอกเทศสิกขาบทที่ ๖ ในสงครามปลาสิก ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 352
หน้าที่ 352 / 450

สรุปเนื้อหา

เอกเทศสิกขาบทที่ ๖ กล่าวถึงการวินิจฉัยหลักการต่างๆ ในการใช้คำและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับขนเจิม โดยอธิบายถึงการโยนและการกระทำที่สามารถนำไปสู่การอาบัติในแง่ของการปฏิบัติ เช่น การโยนหรือคำนึงถึงสถานการณ์ที่นำไปสู่การผิดศีล ความรอบคอบในการกระทำที่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำ การรับรู้ถึงผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นจากการกระทำของผู้ปฏิบัติ

หัวข้อประเด็น

-การวินิจฉัยเอกเทศสิกขาบท
-การใช้คำในบริบทสงครามปลาสิก
-อาบัติในภิกษุ
-การโยนขนเจิมและข้อกำหนดเกี่ยวกับมัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค) - ดูท่สงครามปลาสิกนกสกกาปล ภาค ๑ - หน้าที่ 351 โกสียวรรณ์ ๒ สิกขาบทที่ ๖ เอกเทศสิกขาบท เอกเทศสิกขาบทว่า เทม สมนฺยา เป็นต้น ข้าพเจ้า จะกล่าวต่อไป :- ในเอกเทศสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :- บทว่า อุปผนฺธเชฺญ มีความว่า พวกชาวบ้านกล่าวคำสัตพอค เป็นต้นว่า "ท่านขอบรับ (ขนเจิมนี้) ท่านซื้อมาด้วยราคาเท่าไร ?" สองบทว่า อิติโก อาณุโม มีความว่า พวกชาวบ้านนมัด ฟืนแทบใหญ่ๆ มาจากป่าเหนื่อยหน่อยแล้วโยนลงไป ทั้ง ๆ ที่อยู่ล้นใจ ภิกษูนี้ได้โยน (ขนเจิม) ให้ตกลงไปก่อนนั้น บทว่า สถฏฺฐ คําเสาวด้วยมือคนเอง มีคำอธิบายว่า "นำไปวืดตนเอง" สองบทว่า พหติโยชน ปาตติ มีความว่า โยนออกไปภาย - นอก 3 โยนซึ เมื่อจงเย็นจะตกไปโดยไม่มีอันตราย พอพ้น จากมือ เป็นนิสสัคคีย์ปัจฉิมตามตัวตามจำนวนเส้นนบ. ถ้าขนเจิม ที่โยนไปนั้น กระทบที่ต้นไม้ หรือสาในภาวนอกจากโยนซึแล้วตกลง ภายใน (3 โยนซึ อีก ยังไม่ต้องอาบัติ ถ้าหอบเจิม ตกถึงพื้น หยุดแล้วกลับเข้ามาภายใน (3 โยนซึอีก) อีก เป็นอาบัติแท้ ภิกษุนี้ข้างในเอามือ หรือเท้า หรืไม่ก้าวล่วงไป, ห่อน เจิมจะหยุด หรือไม่หยุดตาม กล้องออกไป เป็นอาบัติ เหมือนกัน ภิกษาวางไว้ด้วยตั้งใจว่า "คนอื่นนำไป," แม้เมื่อคนนั้น นำไปเยียบไปเป็นอาบัติเหมือนกัน. ขนเจิมที่ภิกวางไว้ด้วยจิต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More