ประชโถว - ทุติยสัมปทานบทกล้านแปล ภาค ๑ ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 253
หน้าที่ 253 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญของจิวรรันในบริบทของศาสนาพุทธ โดยมีการกำหนดขนาดและวิธีการถวายจิวรรันให้กับพระสงฆ์ มีการอภิปรายเกี่ยวกับนิสสักคีย์และปาจิตติย, ความหมายของการเสียสละ และอรรถกัปในส่วนของพระธรรมที่ถูกแสดงผ่านบทกาชนะ. เนื้อหานี้ช่วยให้เข้าใจหลักการและวิธีการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับการปฏิบัติในพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของจิวรรัน
-นิสสักคีย์ในพุทธศาสนา
-การเสียสละและปาจิตติย
-การตีความบทกาชนะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประชโถว - ทุติยสัมปทานบทกล้านแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 252 อย่างต่ำ ควรจะวิ่งได้ดังนี้ ขนาดแห่งจิวรรัน ด้านยาว ๒ คืบ ด้าน กว้าง คืบหนึ่ง. ในขนาดแห่งจิวรรัน มีพระบารมีดังนี้ว่า "คุ ณก่อนภิกษุ ทังหลาย! เรายอมถวายให้กับจิวรรันอย่างต่ำ ด้านยาว ๘ นิ้ว ๔ นิ้ว โดยวันพระสุด." ข้อว่า ตะ อติฤกษามโย นิสสุตคีย์ ปาจิตติย มีความว่า เมื่ อภิกรุ่งจิวรรันมีเนินและประมาณตามที่กล่าวแล้วนั้น ให้ล่วงกาล มี ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง คือ เมื่อไม่ทำโดยวิธีที่จะไม่เป็นอติฤกษาจิวรรัน ในระหว่างกาลมี ๑๐ วันเป็นอย่างนี้ เป็นนิสสักคีย์ ปาจิตติย อธิบายว่า จิวรรันนั้น เป็นนิสสักคีย์ด้วย เป็นอาจิฏิปริตจิตต์แหกอกูนด้วย. อีกอย่างหนึ่ง การเสียสละ ชื่อว่า นิสสักคีย์ คำว่า นิสสักคีย์ นั้นเป็นชื่อ ของวิบากรรมอันเกิดขึ้นในกาลเป็นส่วนเบื้องต้น การเสียสละ มีอยู่ แก่ธรรมชาติั้น, เหตุนี้นับ ธรรมชาติ นั้น จึงชื่อว่า นิ สสักคีย์ ฉะนี้แล. นิสสักคีย์นี้ คืออะไร ? คือ ปาจิตติย ในคำว่า ตะ อติฤกษามโย นิสสุตคีย์ ปาจิตติย นี้ มีใจความดังนี้ว่า "เป็นปาจิตติยมีการเสียสละเป็นวิบากรรมอันเกิดขึ้นในกาลนั้นไป." แต่ในบทกาชนะ เพื่อแสดงอรรถกัปแรกก่อน พระผู้พระ ภาคจึงทรงตั้งสมมติว่า เมื่ออภิญญาให้ล่วงกาลนี้ไป เป็นนิสสักคีย์ แล้วตรัสว่า "ในเมื่ออายุวันที ๑๑ นี้ เป็นนิสสักคีย์ คือ อัน อภิญญาพึงเสียสละ ดังนี้. และเมื่อวันนั้น อภิญญาพึงเสียสละแก่บุคคลใด พึงเสียสละโดยวิธีอย่างใด เพื่อแสดงบุคคลและวิธีเสียสละนั้น ๑ วิ มหา. ๕/๒๐๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More