พระอานนท์กราบทูลและสิกขาบาท ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 249
หน้าที่ 249 / 450

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงการสนทนาในการจัดการสิกขาบาทของพระพุทธเจ้า เมื่อพระอานนท์กราบทูลถึงวันที่จะมาถึงอย่างแน่นอน พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้มีการอดิเรนจิรวภายในระยะเวลา ๑๐ วัน สื่อถึงวิธีการจัดการและเข้าใจในเวลาของพระพุทธศาสนา โดยมีการแสดงความหมายของบทสิกขาบาทและวิธีการบรรลุพระธรรม

หัวข้อประเด็น

-การกราบทูลของพระอานนท์
-การจัดการในสิกขาบาท
-ความสำคัญของเวลาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ดูท่อล้มปะทะกานแปลภาค ๑ - หน้าที่ 248 บัดนี้ นับแต่บนี้ จักไม่เลยวันชื่อโนน, ท่านจักมาแน่นอน, จริงอยู่ ชนทั้งหลายผู้มีปัญญามาก ย่อมมีความรักและความเคารพในพระ ผู้มีพระภาคเจ้าา ดังนี้ พระเดชะพระทรงบำบัดด้วยเหตุหลาย อย่างด้วยประกอบอย่างนี้ เพราะนั้น ท่านจึงกราบทูลว่า "จัก มาในวันนี้ ๘ หรือวันที่ ๑๐ พระพุทธเจ้า!" ดังนี้ เมื่อพระอานนท- เถรกราบทูลอย่างนี้แล้ว พระสิกขาบาทนี้มีโทษทางพระบัญญัติ มิ ใช่มีโทษทางโลก; เพราะเหตุนี้ ครั้งนั้นแหละ พระพุทธภาคเจ้า เมื่อ จะทรงทูลวันที่ท่านพระอานนท์กราบทูลนันแลให้เป็นกำหนด จึงทรง บัญญัติสิกขาบาทว่า "ดู่อนภิภูษังหลาย ! เราอนุญาตให้ทรงอดิรน- จิรวได ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง" ดังนั้น, ถ้าหากว่า พระอรญา นี้ จะทูล แสดงนี้ถึงเดือน หรือ เดือนหนึ่ง, แก่งเดือน หรือเดือนหนึ่งนั้น พระ ผู้มีพระภาคเจ้า กะจะทรงอนุญาต. [แก่อรรถสิกขาบาทวิงค์ว่าด้วยการเตกะสูน] บทว่า นิฏฐิโอจิรวสุมิ ได้แก่ เมื่ออิว่าลำเร็จแล้ว โดยการสำเร็จ อย่างใดอย่างหนึ่ง, ก็เพราะว่าวีรนี้ ย่อมเป็นอันสำเร็จแล้ว ด้วยการ กระทำบ้าง ด้วยเหตุมีการเสียบายเป็นต้นบ้าง; ฉะนั้น เพื่อทรงแสดง เพียงแต่จรถเป็นนั้น ในบทภาคะแห่งว่า นิฏฐิโอจิรวสุมิ นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสมีคำว่า "ภิกษุนา จิรว กฏ วา โหติ" ดังนี้. บรณฑาบเทเหล่านั้น บทว่า กฏ คือ อันภิญญะทำแล้วด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More