คำอธิบายเกี่ยวกับดอกไม้และพวงมาลัย ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 213
หน้าที่ 213 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายวิธีการทำพวงมาลัยจากดอกไม้ต่างๆ โดยเน้นถึงการใช้ใบและเทคนิคในการจัดทำพวงมาลัยเพื่อให้สวยงาม รวมถึงการอธิบายความหมายของดอกไม้และพิธีการที่เกี่ยวข้อง เช่น การรักษาความสวยงามของดอกไม้และการตั้งอยู่ในประเพณีที่สำคัญ โดยที่ผู้ที่มีส่วนร่วมจะต้องมีความเข้าใจในแนวทางการทำเพื่อให้ได้มาซึ่งความสวยงามและความหมายที่แท้จริงของงานพิธีนี้.

หัวข้อประเด็น

-การทำพวงมาลัย
-ความหมายของดอกไม้
-พิธีกรรมที่เกี่ยวข้อง
-เทคนิคการจัดดอกไม้
-การใช้ใบในการทำพวงมาลัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ดูดอุณมูลปะกัณถามแปลว่า ภาค ๑ - หน้า 212 ดอกไม้ลงในธูงนั้น ดูดจุงกระสอบ นี้ ท่านเรียกว่า ห่อละพาย. การ กระทำดอกไม้เช่นนั้น ควรอยู่. คนทั้งหลายเอากำแทงใบรับ แล้ว เอาใบห่อลอสงเป็นต้น ดีแล้ว. แม้วิสัยที่เอาใบอูบเป็นต้น ห่อลอไปนั้น จะผูกใบปุ่มเมืองบนดอกไม้ทั้งหลายเท่านั้น ควรอยู่ แต่ค้านปุ่ม ไม่ควรผูกไว้ภายในดอก (แต่การผูกค้านปุ่มไว้ภายใน ดอก ไม่ควร). ที่ชื่อว่า ปุริมะ พึงเห็นในพงมาลย์ และดอกไม้แผ่น. อธิบายว่า ผู้ใดเอาพวกมาลัยรวมรอบเจ็ดครั้ง ต้นโโพดิคีด ชุกชีกี นาวกกลับมาให้เลยเดิม (ฐานเดิม) ไป, แม้ด้วยการรวงรอบเพียง เท่านั้น ดอกไม้ของผู้มัน ชื่อว่า ปุริมะ. ก็จะกล่าวอะไรสำหรับผู้ที่ รงรอบมากครั้ง เมื่อสดเข้าไปทางระหว่างฟันนาค (บันใดแก้ว). ปล่อยให้ยอดลงมา แล้วตบพันรอบฟันนาค (บันใดแก้ว) อีก แม้ดอกไม้นี้ ก็ชื่อว่า ปุริมะ. แต่ง่าสองล้วยดอกไม้เข้าไปในฟันนาค (บันใดแก้ว,) สมใจอยู่. คนทั้งหลาย ย่อมทำผองดอกไม้ (ดอกไม้แผ่น) ด้วย พวงมาลัย. แม้ในวิสัยดอกไม้แผ่นนี้ จะจึงพวงมาลัยไปเพียง ครั้งเดียว ควรอยู่. เมื่อย่ำอับกลับมาอีก จัดเป็นการร้อยดวงที่เดียว. ดอกไม้ชนิดนั้น ไม่ควรทุกอย่าง โดยนัยก่อนเหมือนกัน. ก็ร้ายได้ พวงดอกไม้ที่ขาทำด้วยพวงมาลัยแม่เป็นอันมากแล้ว ผูกไว้เบื้องบน. แห่งองค์เป็นต้น ควรอยู่ ก็การเอาพวงมาลัยยามางกชิงไป หรือ ๓. นาคทนุติ์ แปลว่า ฟันนาค, ฟันงูงทร, บันใดแก้ว, และกระจังได้,
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More