การซื้อและขายในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 378
หน้าที่ 378 / 450

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงการซื้อขายในพระพุทธศาสนา โดยเน้นกระบวนการรับและให้สิ่งของในรูปแบบของปัจจัย การเรียนรู้แนวทางที่ถูกต้องในการทำธุรกรรม รวมถึงความสำคัญของพฤติกรรมและจิตใจที่ควรมีในการซื้อขายในทางศาสนา ทั้งนี้เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและส่งเสริมความเจริญ.

หัวข้อประเด็น

- การซื้อและขายในพระพุทธศาสนา
- กระบวนการรับและให้ปัจจัย
- จิตใจในการทำธุรกรรม
- ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
- แนวทางปฏิบัติของภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๑) - จุดอ่อนมันปลาสากกนแปลภาค ๙ - หน้า ที่ 377 [อธิบายการซื้อและขายที่ทำให้สนใจอัต] บทว่า ยกวิกฤย์ ได้แก่ การซื้อและการขาย ภิกษุเมื่อตือเอา กับปัจจัยของคนอื่น โดยนัยเป็นต้นว่า "ท่านจงให้สิ่งนี้ด้วยสิ่งนี้" ชื่อว่า ย่อมถึงการซื้อ เมื่อให้กับปัจจัยของตน ชื่อว่าย่อมถึงการขาย บทว่า อุทานาจริต คือ ย่อมประพฤติดีมุ่ง อธิบายว่า "ย่อมกล่าวว่าว่าล่วงเกิน." ข้อว่า ยิโก ยียบญ โหติ วิจิตตุโย มีความว่า ในเวลาทำบุตรของผู้นำให้ของตน ชื่อว่ายซื้อ และในเวลาทำ บุตรของตนให้ของผู้นำ ชื่อว่าย ไม่ว่ากนี ในบาลี ท่านแสดงกัณฑ์ของคนก่อน โดยอนุรูปแก่ว่า อภิ เป็นต้น. บทว่า นิสมุฤทธิพุท มีกว่าว่า พึงสละกับปัจจัยที่รับ เอาจากมือของคนอื่น ด้วยอำนาจแห่งการซื้อขายอย่างนี้ ก็การซื้อขายอย่างนี้ กับพวกคฤหัสถ์ และนักบวชที่เหลือ เว้นอธรรมนัก ทั้ง ๕ โดยที่สุด แม่มบารมคบิด ก็มิควร. วินิจฉัยในการซื้อขายนั้นดังต่อไปนี้:- ผักตบผักตบอาหาร กับ อาหารผักตบา จงกล่าวไว้ ภิกษุบวล่าวก็ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งว่า "ท่านจงให้สิ่งนี้ ด้วยสิ่งนี้" เป็นกฎๆ ภิกษุกล่าวอย่างนั้นแล้ว ให้บุตรของตนแม้มาราคีเป็นกฎๆ ภิกษุอมาราคกล่าวว่า "ท่านจงให้สิ่งนี้ ด้วยสิ่งนี้" หรือกล่าวว่า "ท่านจงให้สิ่งนี้ ฉันจัง ให้สิ่งนี้แก่ท่าน" แล้วถือเอากันมา มาราคาเพื่อคนก็เป็นกฎๆ. เมื่อบุตรของตนถึงของคนอื่น และเมื่อบุตรของคนอื่นถึงมือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More