การเพิ่มเติมกิจในพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 123
หน้าที่ 123 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์ความสำคัญของการดำเนินกิจในพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นถึงการที่กิจที่กระทำเสร็จแล้วนั้นไม่ต้องทำซ้ำ และการตั้งมั่นในธรรมชาติของความไม่เที่ยง การเฝ้ารอพระผู้มีพระภาคเจ้าของบุตรสาวเป็นตัวอย่างของความพยายามในการเรียนรู้และเข้าใจหลักธรรม แสดงให้เห็นว่าการเข้าถึงพระธรรมมีความสำคัญอย่างไรในชีวิตและสามารถส่งผลต่อการพัฒนาจิตใจได้อย่างไร

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของกิจในพุทธศาสนา
-ความไม่เที่ยงของธรรมชาติ
-บทบาทของพระเถระและการเรียนรู้
-การบวชและความหวังในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๒) - ดูจุดสมุนปลาบากแกสภา ภาค ๑ - หน้าที่ 122 ๑๖ ประกาศ ในอริสัล๔ อันท่านจะทำเสร็จแล้วด้วยวรรณ๔ คำว่า กฤดส วา ปฏิสฺโถ มีความว่าแม้การจะเพิ่มเติมกิจ ที่กระทำเสร็จแล้วนั้นไม่มี เหมือนกับที่ซักแล้ว ไม่ต้องซักซ้ำอีก เหมือนของหอมที่บับแล้ว ไม่ต้องบัดซ้ำอีก และเหมือนดอกไม้ที่ บานแล้ว ไม่กลับบานอีก น ฉนั้นและ บทว่า รโคด๖๓๖ ได้แก่ ไปนที่สังฆ บทว่า ปฏิสฺโถ สินฺโถ ได้แก่ หลักอาการนั่น ฯ แล้ว เรือนอยู่ มีคำอธิบายว่า "ถึงความเป็นผู้ใต้ได้." ข้อว่า อตฺโถ ยามสมฺโถ ทุกพฺุทธสฺต มลฑุปฺโถสิ ยนนนราห สงฺฆส น เสนฺนภนฺดบ ปฏฺญาเปโต ภควา จ อุทิ- เเสยุ มีความว่า ได้ยินว่า พระเถระเห็นว่า กิจของนคระทำเสร็จ แล้ว จึงสงฺรังไว้ซึ่งสิริจะสุดท้ายอันนี้ ก็แสดงธรู ท้ายั้น ดำรงอยู่ในทางแห่งความเป็นของไม่เที่ยง ไม่นานนักก็จะดับ ไปเป็นธรรมดา คงประทีปที่ส่องทางลม จะนั่น เราจะกระทำ การหววขวาเบ่งสต ฯ ลเวลาเที่ยงไม่ดบ อย่างไรหนอเเละ ? พลาง พิจารณาเห็นอย่างนี้ว่า "เหลาลูกบุตรเป็นอันมาก ในแคว้นอก ทั้งหลาย บวชไม่ไดเ้ห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเลย ท่านเหล่านั้น ย่อม พักมาม้วยกที่ใกล ด้วยหวังไว้ว่า 'เราทั้งหลายก็เฝ้ารอแผ่นดิน จับถวายบังคม พระผู้มีพระภาคเจ้า' บรรดากุลบุตรเหล่านั้น เสนาะะ ไม่เพียงพอแก่ท่านพวกใด ท่านพวกนั้น ต้องนอนแม้นบนศิลา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More