การบริโภคและอาบัติในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 416
หน้าที่ 416 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้จะพูดถึงการไม่ทำการบริโภคซึ่งไม่เป็นอาบัติและเหตุผลที่ทำให้เกิดการรับประเคน ทั้งนี้มีการอ้างอิงคำสอนของพระผู้พระภาคเจ้าที่ระบุถึงการสละแล้ว ไม่มีความหวัง ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ชีวิตของภิกษุและสามเณร ในการประกอบกิจทางศาสนา. รถพันธ์ของอาบัติและการใช้คำสอนของพระมหาสมเถรและพระมหาปทุมเถรในที่นี้จะช่วยในการทำความเข้าใจความสำคัญและการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในการจัดการกับผลในด้านจิตใจและสังคม.

หัวข้อประเด็น

-การบริโภคในพระพุทธศาสนา
-อาบัติและการไม่บริโภค
-คำสอนของพระพุทธเจ้าที่เกี่ยวข้อง
-บทบาทของสามเณรในศาสนา
-การสละและการปล่อยวางในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - กุฏิสมานปลากากแปล ภาค ๑ หน้า 415 ก็ไม่ทำการบริโภค จะเป็นอาบัติแก่อไหน ? ไม่เป็นอาบัติแก่ไหนๆ ทั้งนั้น. เพราะเหตุไร ? เพราะรูปที่รับประเคนก็สละแล้ว และเพราะ อีกฐูหนึ่งก็ไม่ได้รับประเคน บทว่า วินัยสุดา ได้แก่ เป็นของบริโภคไม่ใช้. ในคำว่า จุดเตน เป็นต้น มิวิฉฉัยดังนี้ :- เกาสัณฑิกญฺ สละแล้ว ทั้งแล้ว ปล่อยแล้ว ด้วยจิตใจ, จิตนัน พระผู้พระภาค เจ้าตรัสสั่งว่า "สะละแล้ว ทั้งแล้ว ปล่อยแล้ว" ตรัสเรียกบุคคล ผู้ไม่มีความหวังใดด้วยจิตนัน. อธิบายว่า ผู้ไม่มีความหวังใดอย่างนั้น ให้แล้วแกสามเณร." คำนี้ตรัสไว้ เพราะเหตุไร? ท่านพระมหาสม- เถรกล่าวว่า "ตรัสไว้เพื่อแสดงว่าไม่เป็นอาบัติ แก่กุฏิผู้ให้แล้ว ในภายหลัง ๓ วันอย่างนั้น ภายหลังได้คืนมาภายในวันนั้น." ส่วนท่านพระมหาปทุมเถรกล่าวว่า "นั่นมิใช่คงจะไม่ควรถ องค์ใน ด้วยว่าในเพราะการบริโภคใหม่ ซึ่งน้ำมันที่ให้ไปแล้วในภายใน ๓ วัน ไม่มีอาบัติเลย, แต่ตรัสด่านนี้ว่า ก็เพื่อแสดงว่าไม่เป็นอาบัติในเพราะ บริโภคนั้นมิ่่ง ๓ วันไป" เพราะเหตุนี้ เทศที่เขาาอาวาย แล้วอย่างนี้ ถาสามเณรปรุงแล้ว หรือไม่ได้ปรุง ถวยาเกิิดอุุบัน เพื่อกระทำการนัตถุ, ภิกษุรึเปล่าพึ่งทำการนัตถุ. ถาสามเณรเป็นผู้ เณลา ไม่รู้เพื่อจะอาวุธ, ภิกษุอื่นพึงบอกเธอว่า "แนะสามเณร ! เธอมีน้ำนั้นหรือ?" เธอบว่า "ขอรับ มีอยู่ ท่านผู้จริจ! ภิกษุ นั่นพึงบอกเธอว่า "นำน้ำเกิด, เราจำทำยาวถวายพระเถร" น้ำมัน ย่อมควรแม้ด้วย (การถือเอา) อย่างนี้ คำที่เหลืออร่อธนั่นนั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More