ทิวดสมุนปลาสากาเป็นปลาภาค ๑ - หน้าที่ 411 ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 412
หน้าที่ 412 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้าที่ 411 ของทิวดสมุนปลาสากา กล่าวถึงการใช้มะซางในการประกอบอาหารเพื่อดองเพื่อเมรัย โดยเน้นการเก็บรักษาอาหารอย่างถูกวิธีสำหรับภิกษุ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลาสั้นๆ และการอนุญาตเฉพาะสำหรับภิกษุที่มีอาพาธ โดยกล่าวถึงเนื้อสดและเลือดสดที่สามารถบริโภคได้ในกรณีเฉพาะ พร้อมอธิบาย 9 ประเภทของการอนุญาต.

หัวข้อประเด็น

-การประกอบอาหาร
-การเก็บรักษาอาหาร
-ข้อบังคับสำหรับภิกษุ
-การอนุญาตในกรณีอาพาธ
-มะซางและการดอง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ทิวดสมุนปลาสากาเป็นปลาภาค ๑ - หน้าที่ 411 แต่ถ่าว่า ชนท้งหลายถือเอามะซางนั้นประกอบเข้ากัน (ปรุง) เพื่อดองการเมรัย ดอกมะซางที่ปรุงแล้วนั้น ย่อมไม่ควรตั้งแต่พึ่ง. ผาติคแท่งผลไม้ที่นี้เป็นยาวกาลิก มีถั่ว ผลอินพาลัล (เป่ง กิวิว่า) มะม่วง สาแก่ ขนุน และมะพร้าวเป็นลัด เป็นยาวกาลิก. เหมือนกัน. ชนท้งหลายทำผาดด้วยพริกสุก ผลิตนั้นเป็นยาวกาลิก. สองบทว่า ตนี ปฏิกูลเหตุวา มีความว่า ถกฉินรับประเคน เกล้๕ อย่าง มีแนไสเป็นต้นแม้นทั้งหมด เก็บไว้ไม่แอกกันใน หม้อเดียว ในมืออ่าง ๓ วัน เป็นนิสัสลคือเพียงตัวเดียว, เมื่อแยกกันเก็บ เป็นนิสัสลคือ ๕ ตัว. อันลักษ๕ นี้ ยังไม่ล่วง ๓ วัน ภิกษุอาพาธก็ดี ไม่ได้อาพาธก็ดี ควรบริโภคตามสบาย โดยนัย ดังกล่าวแล้ว. [อธิบายข้อที่ทรงอนุญาตไว้เฉพาะ ๙ อย่าง] ก็ข้อที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะมี ๙ อย่าง คือ อนุญาตเฉพาะ อาพาธ ๑ เฉพาะบุคคล ๑ เฉพาะกลด ๑ เฉพาะสมย์ ๑ เฉพาะ ประเทศ ๑ เฉพาะมเปล่า ๑ เฉพาะเกษตร ๑. บรรดาอนุญาตเฉพาะ ๙ อย่างนั้น ที่ชื่อว่าทรงอนุญาตเฉพาะ อาพาธ ได้เก่า ข้อที่ทรงอนุญาตเฉพาะอาพาธอย่างนี้ว่า "คูฎกอน ภิกษุทั้งหลาย ! เราอนุญาตเนื้อสด เลือดสด ในเพาะอาพาธอัน เกิดจากอุบัติมนะ" เนื้อสดและเลือดสดนั้น ควรแก่ภิกษาผู้อาพาธด้วย อาพาธอย่างเดียว ไม่ควรแก่ภิกขูอื่น. ก็แต่ เนื้อสดและเลือดสด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More