ความหมายและความสำคัญของลูกและหลานในงานมงคล ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 237
หน้าที่ 237 / 450

สรุปเนื้อหา

วิสาขานั้นมีบุตรชายหญิงจำนวนมาก และในบทนี้ได้กล่าวถึงความสำคัญของลูกหลานในบริบทของงานมงคล รวมถึงการถวายปาทังก่อนบุคคลทั่วไป ความเชื่อเรื่องการไม่มีโรคอายุยืน และประเพณีที่เกี่ยวข้องเช่น งานมหรสพและวันออกพรรษา ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการถวายอาหารและการมีลูกหลานในชีวิตของผู้คนในวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะในงานมงคลที่สำคัญสุด ยกตัวอย่างเช่น การร่วมเฉลิมฉลองในวันสำคัญต่าง ๆ ที่มีมิติทางสังคมและศาสนา

หัวข้อประเด็น

-จำนวนลูกหลานในวัฒนธรรมไทย
-ความสำคัญของการถวายในงานมงคล
-งานมหรสพและประเพณี
-ความเชื่อทางศาสนาและสุขภาพ
-การเฉลิมฉลองในประเพณีไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ดูตัวสนับสนุนจากกษัตริยา ภาค ๑ - หน้าที่ 236 วิสาขานั้น มีบุตรชายหญิง ๒๐๐ คน ฉันใดละ แม้บุตรชายหญิงของนางก็มีทารกคนละ ๒๐ คน ฉันนั้น นางจึงได้ชื่อว่า มีลูกและหลานเป็นบริวาร ๔๒๐ คน ด้วยประการอย่างนี้ บทว่า อภิภูคลุมมตา คือ ผู้นชาวโลกสมมติว่าเป็นอูฐมนฺ บทว่า ยุญญตู คือ ในทานน้อยและทานใหญ่ บทว่า ฉลกสุทู คือ ในงานมหรสพบนเป็นไปเป็นครั้งคราว มีอาวามงคลและวิวาหมงคลเป็นต้น บทว่า อุสสุวุตู ได้แก่ ในงานมหรสพทดลอง (สมโภค) มีอาสนพนักตบัดกู และปวารณานักตบัดกูเป็นต้น (งานฉลองนักตบัดกูเข้าสพรรษาและวันออกพรรษา) บทว่า ปรุมิ โกณฑุม มีความว่า ชนทั้งหลาย เชิญให้รับประทานก่อน พลางขอวร่า "เด็กแม่เหล่านี้ จงเป็นผู้ไม่มีโรคมีอายุยืน เสมอด้วยท่านเกิด" ดังนี้ แม้ชนเหล่าใด เป็นผู้มีศรัทธา เลื่อมใส ชนเหล่านั้น ให้ถวายปาทังก่อนคนทั้งปวง ในลำดับก็มุ่งสมานั้นแผน บทว่า น อาเทย มีความว่า พระอุตายเรณะ "ไม่เชื่อฟังคำของนาง. อีกอย่างหนึ่ง ความว่า "ไม่กระทำความอื่เฟ้อ." บทว่า อลกุมมีย มีวิเคราะห์ว่า ที่นี่ชื่อว่า คัมมียะ เพราะอรรคว่า ควรแก่กรรม คือ เหมาะแก่กรรม ที่ชื่อว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More