การบริโภคข้าวและการทำบริหารในพระธรรม ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 380
หน้าที่ 380 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตและการบริโภคข้าวสุกในมุมมองพระธรรม เป็นการอธิบายการทำบริหารและการรับผิดชอบของบุคคลในการบริโภคอาหาร พร้อมความสำคัญในการทำกิจกรรมทางศาสนาโดยไม่ขัดกับกฎและคำสอนที่มีมาอย่างยาวนาน จากการอธิบายในธรรมสมัยนี้ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคและการทำบุญยิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การบริโภคข้าว
-การทำบริหาร
-พระธรรม
-ความรับผิดชอบ
-การซื้อขาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (๙) - ดูเผินๆ มันเหมือนปลาสากแบนภาค ๑ หน้าที่ 379 กล่าวว่า "พวกท่านบริโภคข้าวสุกแล้ว จำกินชื่อฉัน" แล้วใช้พวกช่างศิลป์มีช่างแกะสลักจนเป็นต้น ให้ทำบริหารนั้นๆ บรรดาบริหารมี ธมกภ์เป็นต้น หรืใช้พวกช่างอ้อมให้ซ้อนกัน เป็นอาณัติฤดูกาล สีรณให้พวกช่างกลับปลดผมให้พวกกรรมทำนวกรรรม เป็นอาบัติ ตามวัดดูเหมือนกัน. ถ้าถูกฏไม่กล่าวว่า "พวกท่านบริโภคอาหารนี้แล้ว จงทำองค์นี้" กล่าววา "เธองบริโภคอาหารนี้" เธอบริโภคแล้ว, (หรือ) จักบริโภค, จงช่วยทำกิจนี้" ย่อมสมควร. ก็ในการให้ทำบริหาร เป็นฉันนี้ ภัณฑะของผู้อื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน ชื่อว่าอับกิญฺฤ พิงสละ ย่อมไม่มี ในการซ้อนผ้าหรือในการปลอกผม หรือในการกรรรม มีกำรากิงที่เป็นต้น แม้จริง, ถึงอย่างนั้น เพราะท่านกล่าวไว้ หนันทํแนในมหารกถาใคร ๆ ไม่อาจคัดค้านคำนี้ได้; เพราะ ฉะนั้น ภิกุพูลแสดงปัจเจติย์ ในเพราะการจรัจฉัยเป็นต้นนี้ เหมือน แสดงปัจเจติย์ ในเพราะนิสสัคคัลว ดึงู ที่นใช้สะอาดแล้ว หรือเสียหาย แล้ว ฉะนั้น. [อธิบายอนาปฏิวาร] ในคำว่า subัฏกูฏ ย ภิกฺขุคุ ณี เป็นต้น ผู้ศึกษาเพิรงคาม ใจความอย่างนี้ว่า "ภิกฺขุ ดู" ถึงการซื้อขาย. ภิกฺขุ นั่นของเป็นผุ้ม ความสำคัญในการซื้อขายนั่นว่าเป็นการซื้อขาย หรือมีความสงสัย หรือ มีความสำคัญว่าไม่ใช่การซื้อขายอํานนนี้ เป็นนิสสัคคียปัจเจติยัเท่านั้น. ในบูติคะ เป็นทุกกุเหมือนค้นทั้ง ๒ บาท.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More