การสร้างกุฏิและอาบัติในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 116
หน้าที่ 116 / 450

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการสร้างกุฏิในพระพุทธศาสนา โดยอธิบายถึงอุบัติและอาบัติ รวมถึงการประยุกต์เรื่องกุฏิที่ไม่เป็นอาบัติตามที่พระผู้ทรงพระภาคตรัสไว้ในคัมภีร์ปริวาร นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความหมายของคำที่พระพุทธองค์ทรงตรัสเกี่ยวกับการสร้างกุฏิและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอาบัติ การอภิปรายนี้สะท้อนถึง ความสำคัญของฐานอันเหมาะสมในการสร้างกุฏิและบทบาทของผู้ออกแบบในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-สร้างกุฏิในพระพุทธศาสนา
-อาบัติและอุบัติ
-คำสอนของพระพุทธองค์
-พระบาลีและคัมภีร์ปริวาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ดู้อสันนิบาตกามาแปลภาค ๑ - หน้าที่ 115 ของที่เขาสร้างโดยสังเขปว่า "นี่เป็นหลังคาของเรือนหลังนี้" เมื่อการ นามที่เชื่อมต่อกันด้วยการฉาบฝ่านของเรือนนั้นแล้ว เป็นอุบัติ ก็ถาว่ากุฏิที่หมายดูตั้งข้างบน เพื่อรักษาเครื่องบายของเรือน ที่หลังคาไปกาบปูนทั่วภายในและภายนอก ไม่มีชื่อว่าเป็นกุฏิหย่า ด้วยอาการเพียงเท่านี้ ถามว่า " ก็ในกุฏิภูษานี้ ไม่เป็นอาบัติ เพราะสงไม่ไม่ได้ แสดงให้เห็นและทำว่างประมาณเป็นปัจจัยเท่านั้น หรือว่า แม้เพราะ มีผู้อองไว้และไม่มีชานรอบเป็นปัจจัยเล่า ? " ตอบว่า " ไม่เป็นอาบัติ แม้ในทุก ๆ กรณี." จริงอย่างนั้น พระผู้พระภาคทรงหมายถึงกุฏิอันนี้ จึงตรัสไว้ ในคัมภีร์ปริวารว่า " กิณฑสร้างกุฏิ ซึ่งสงไม่แสดงที่ให้ ง่วงประมาณ มีผู้อองไว้ ไม่มีชานรอบด้วยการขออภัยเอง ไม่ เป็นอาบัติ ปัญหานี้ ท่านผู้ฉลาดทั้งหลาย คิด กันแล้ว." ส่วนคำพระผู้พระภาคตรัสไว้ในพระบาลีอาทิวว่า " กิฏผู้ สร้าง ต้องอาบนุตกูฎ ๓ ตัว" ดังนี้ ตร์สเรียกวาไม่สร้างตาม ที่สั่งไว้เป็นปัจจัย. สองทาว่า อุณฑูตถาย มีความว่า ไม่เป็นอาบินตกิฏ ผู้สร้างกุฏิ แม้ไม่ถูกกลายะของกุฏิ เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น คือ อุปชามี่อำตาม อาจารย์ก็ตาม สงมิตาม.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More