ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค (๓) - ทัศนะสมดุลในทุกภาคส่วน
ระดับที่ ๑ หน้า ๑
ดังนี้ สมควรอยู่
อันนี้ เขาถวายเพื่อประโยชน์แก่ลูกปัจจัย ฟังน้อมไปเพื่อปัจจัย
ที่ต้องการ เขาถวายเพื่อประโยชน์แก่จิรัญ ฟังน้อมไปในจิรันท่านั้น
ถ้าว่าไม่มีความต้องการจิรเช่นนั้น สงฆาลบาดด้วยปัจจัยมีบิดตาบาด
เป็นต้น ฟังอโลกนเพื่อความเห็นดีแห่งสงฆ์ แล้วน้อม ไป แม่เพื่อ
ประโยชน์แก่บิดาตบเป็นต้น แม้ในภีปัจจัยที่เขาถวาย เพื่อ
ประโยชน์แก่บิดาตบ และถ้วยปัจจัย ก็เช่นนี้
อันนี้ อภิปัจจัยที่เขาถวายเพื่อประโยชน์แก่เสนาสนะ พึงน้อม
ไปในเสนาสนะเท่านั้น เพราะเสนาสนะเป็นครุภัณฑ์ ก็ถาว่า เมื่อ
พวกภิกษุละทิ้งเสนาสนะไป เสนาสนะจะเสียหาย ในกาลเช่นนี้
พระผู็พระภาคเจ้าทรงอนุญาตให้กิฑุทั้งหลาย จำหน่ายเสนาสนะ
แล้วรีโภค (ปัจจัย) ได้
เพราะฉะนั้น เพื่อรักษาเสนาสนะไว้ ภิกษุอย่าทำให้ขาด
มูลค่า พึงบริโภคพออย่อตาให้เป็นไป และไม่แต่งนิทรองอย่าง
เดียวเท่านั้น เมื่อตับปิยวัดอันนี้มีนาและสนานเป็นต้น อภิภูมิไม่
ควรรับ
[วิธีปฏิบัติในบ่งและสระน้ำเป็นต้นที่มีผู้ถวาย]
ก็ตถใคร ๆ กล่าวว่า "บิงใหญ่ให้สำเร็จข้างกล้า ๓ ครั้ง ของ
ขำเจ้ามือ ข้าพเจ้าขอถวายบิงใหญ่นั้นแกสงฆ์" ถสสงรับบิง
ใหญ่นั้น เป็นอัตติ้งในการรับ ทั้งในการบริโภคเหมือนกัน แต่