การทวงและการยืนในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 323
หน้าที่ 323 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงการทวงและการยืนในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของวินัยของภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยมีการแสดงความสำคัญของการทวงอย่างเป็นระเบียบ และการยืนในลักษณะที่ถูกต้องเพื่อสร้างคุณภาพในพระธรรมคำสั่งสอน นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการจัดการให้สำเร็จในข้อปฏิบัติผ่านทางบทความเสียง และการแสดงลักษณะและระเบียบการยืนของภิกษุในบทต่างๆ เพื่อให้เกิดความงามและมีการปฏิบัติตามหลัก.

หัวข้อประเด็น

-การทวงในพระพุทธศาสนา
-การยืนและระเบียบวินัย
-ลักษณะการปฏิบัติของภิกษุ
-คุณค่าและความหมายในการยืน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ทุ่งสมุนไพรสลากาแปลง ภาค ๑ หน้า ที่ 322 พระผู้พระภาคเจ้า ครับทรงแสดงกำหนดการทวง ที่กล่าว แสดงในคำว่า "พึงทวงพึงเตือนสองสามครั้ง" นี้ หรือถึงแล้ว วันนี้ เมื่อจะทรงแสดงใจความโดยสังขปน่งบทนั้นว่า "ทุติฏิตคุณตุต โดยยามโน สายยมโน ติ จิวาร์ อภิปฺผาเทย สุจิตต์ กุลส" จิงตรัสว่า "ถ้าภิกษุสั่งไว้จักนั้นให้จบสำเร็จ การให้จบสำเร็จได้ อย่างนี้นั้น เป็นการดี" เมื่อทวงถึง ๑ ครั้ง อย่างนี้ ถ้าจัดจิวรนั้น ให้สำเร็จได้ คือ ย่อมอานเพื่อให้สำเร็จ ด้วยอำนาจ (ทำ) ให้ตน ได้มา, การจัดการให้สำเร็จได้อย่าง นี้นับเป็นการดีคือ ให้สำเร็จ ประโยชน์ ดี งาม. คำว่า ตฤฏุฎกฏฏุ ปญฺญฏุฎฏุ ญฺญฏุฏฏุพลํ คุณาภิญฺญตา อุกทุสส ฐาทุปฟะ นี้ เป็นการแสดงลักษณะแห่งภาวยืน. ก็ว่่า คุณฏุฏฏปริม นี้ บอกความปูปลังกิฯ. จริงอยู่ ภูกมนี้ พึงยืนึ่ง เฉพาะจีวร ๖ ครั้งเป็นอย่างมาก. ไม่พึงกระทำอะไร ๆ อื่น. นี่เป็น ลักษณะแห่งการยืน. เพื่อจะทรงแสดงความเป็นผู้งาม (ที่ตรง) ไว้ในบท ว่า ดูทูฏฏต นั้น ซึ่งเป็นสาระะแก่การยืนทุก ๆ ครั้งก่อน พระ ผู้มีพระภาคจึงตรัสคำว่า "ตดูฎ คณฺฑวา ตุณฺฑิฏฺญาณ" เป็นต้น ใน บทวาชนะ. 【อธิบายการทวงและการยืน】 บรรดาหล่านี้ สองบทว่า ๆ อานนท์ นิสิตตุผุ มี ความว่า ภิกษุแม้จิอาจจักกล่าวว่า "โปรดดึงที่นี้เดือด ขอรับ !"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More