ทัศนสมันปาสกามาแปล ภาค ๑ ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 208
หน้าที่ 208 / 450

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ยกตัวอย่างการศึกษาอรรถถาคตและคำสอนของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับการทำบุญและอาบัติ โดยเนื้อหานี้ชี้ให้เห็นว่าสิ่งที่ทำเพื่อนำไปใช้เพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยเฉพาะจะไม่ถือว่าเป็นอาบัติ ทั้งนี้ยังมีการอภิปรายความหมายของคำต่างๆ ในพระธรรมเช่น ดอกไม้ที่ใช้ประกอบในกิจการต่างๆ ดังนั้นการเข้าใจพระธรรมจึงมีความสำคัญในการประกอบศาสนกิจและการปฏิบัติตนในพระพุทธศาสนา เชิญติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์อรรถถาคต
-ความสำคัญของพระธรรม
-การทำบุญและอาบัติ
-การศึกษาพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติตนในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ทัศนสมันปาสกามาแปล ภาค ๑ - หน้า 207 "พระอรรถถาคตจารย์ยังหลายในปางก่อนใด้รจนา อรรถถาคตหลายไม่ได่สมด็ของพระสาวก ทั้งหลายผู้ธรรมะและวินัย เหมือนที่พระพุทธเจ้า ตรัสแล้วทีเดียว. เพราะเหตุนี้แและ คำใดที่กล่าว แล้วในอรรถถาคตหลาย คำนันทั้งหมด เว้นคำ ที่เขียนด้วยคำพลังผลอันเสีเนแล้ว ย่อมเป็นประมาณ ขอบันทิตย์ทั้งหลายผู้มีความเคารพในพระ ศาสนานี้ เพราะเหตุนี้" การปลูกเป็นต้นและร้อยเป็นต้นทุก ๆ อย่าง พิงทราบตาม นิยที่กล่าวแล้ว. ในวิสัยการร้อยเป็นต้นนั้น พึงมีคำถามว่า "ถ เป็นอาบัติในเพราะการร้อยเป็นต้น เพื่อประโยชน์แก่ราษฏรพระ รัตนตรัยแล้ว เหตุไร ในเพราะการนำไปเป็นต้น จึงเป็นอานัตเล่า ?" มีคำแย้งว่า "เพราะนำไปเพื่อประโยชน์แก่กุลศตรีเมต้น จิง เป็นอาบัติ, จริงอยู่ ในหลายกิจการ พระธรรมสังฆทานหลาย ได้กล่าวไว้ให้พิเศษแล้วว่า ๗ ดกิตติถิน เป็นต้น. เพราะเหตุนัน จงไม่เป็นอาบัติแก่นักนำไปเพื่อประโยชน์แก่พระพุทธเจ้าเป็นต้น. บรรดาท่านนั้น ว่าอเกโต วานุกิจ ได้แก่ ระเบียบ ดอกไม้ที่จัดทำรวมข้อดอกไม้เข้าด้วยกัน (มาลัยต่อกัน) บ่าวว่า อุกโฏ วานุกิจ ได้แก่ ระเบียบดอกไม้ที่ทำแยกขั่ว ดอกไม้สองข้าง (มาลัยเรียงกัน). ส่วนในบทว่า มนุษธิติ เป็นต้น มีวิจฉัว่า บุปฟวิกติติที่ทำ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More