ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค(ตอน) - คู่อสนั่นปลาสานกาแล ภาค ๑ - หน้าที่ 311
พวกข้ามเจ้า เติมบารมีรื่น ท่านต้องการจิรเท่าได ถึงงั้นไปเท่านั้น เด็ด." ก็เพราะรวบการนามทั้งสองนั้นเข้าเป็นอันเดียวกัน ตรัส เรียกว่า "ปารณาเพื่อป่า!"
บทว่า สนุตรุตตรปม์ มีวิเคราะห์หัวว่า พ้อตตราส่ง กับ อินตรวาสก เป็นอย่างยิ่งแห่งจิว่นั้น; เหตุนี้ จิว่นั้น จึงชื่อว่า มีอุตตราสงคับอันตราสกเป็นอย่างยิ่ง. มีออธิบายว่า "ผ้าห่มกับผ่านุง เป็นกำหนดอย่างสุขแห่งจิว่นั้น."
หลายบทว่า ตโต จิวรร สกทิตพุพ์ มีความว่า ภิกขูจีดือ เอาจิวมีประมาณเท่าใด จากจิวรรที่กุฏมดี หรือ คฤหปตานี ผู้มีใช้ ญาณนิพานมาให้นั้น, อธิบายว่า "ไม่ควรรบเกินกว่านี้." ก็เพราะว่า ภิกษุมีเพียงใตจิวรรเท่านั้น ถูก โจรงจิวรร ไปหมด ควรปฏิบัติ อย่างนี้, ภิกษุควรปฏิบัติม้อ่างอื่น; ฉะนั้น เพื่อจะทรงแสดง วิภาวนั้น พระผู้พระภาคเจ้าจึงตรัสบอกว่าภานแห่งว่า ตโต จิวรร สกทิตพุพ์ นั้น โดยนัยว่า สก จิติ นูญานา โหนิต เป็นต้น.
วิจินฉันในก่าว สก จิตि นูญานิ เป็นต้นนั้น ตั้งแต่ไปนี้:- ถ้ากุฏิใดมีจิวรราย ๓ ฝืน, ภิกษุนั้น พึงนิด ๒ ฝืน. คือ จักนุ่มฝืนหนึ่ง ห่มฝืนหนึ่ง แล้วแฉวกาหอผืนที่นั่งจากที่แห่งภิกษุ เป็นสภากัน. ภิกษุใด มีจิวรรมาย ๒ ฝืน ภิกษุนั้น พึงนิดผืนเดียว. ผ้ากุฏิเที่ยวไปโดยปรกติด้วยอุตตราสกกับอินตรวาสก พึงนิด ๒ ฝืน. เมื่อดีโดยนั้น จักเป็นผู้สมอภิกษุผู้นดีผืนเดียวกันเอง. หาย ผืนเดียว ไม่พึงนิด. ภิกษุใดมีจิวรรายาหายไปผืนเดียวในบรรดาจิวรร ๓ ผืน,