ทัศนสมันต์ปลาขากแปลภาค ๑ ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 407
หน้าที่ 407 / 450

สรุปเนื้อหา

บทนี้ว่าด้วยการอนุญาตให้บริโภคเปลวมันแห่งสัตว์ โดยเฉพาะปลา แม้ปลาลามจะไม่เป็นที่ยอมรับในบทนี้ พระองค์ตรัสแยกไว้ว่าปลาร้ายไม่ควรบริโภค พร้อมทั้งอธิบายถึงการใช้ปลามังสะในแบบต่างๆ และการพิจารณาผลิตภัณฑ์จากน้ำมันปลาก่อนการบริโภค โดยเฉพาะการรับประเคนผ่านพิธีทางศาสนา โดยเน้นถึงการบริโภคที่ปราศจากอามิส ซึ่งส่งผลต่อความบริสุทธิ์ของอาหารที่รับประทาน.

หัวข้อประเด็น

-การอนุญาตบริโภคเปลวมัน
-ปลาลามและพระราชอำนาจ
-การรับประเคนอาหาร
-พิธีบิจกและการบริโภค
-ความหมายของอามิส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ทัศนสมันต์ปลาขากแปลภาค ๑ - หน้าที่ 406 ทั้งหมด เว้นเปลวมันแห่งมนุษย์เสีย อึ่ง แม้ปลาลาม ก็เป็นอัน พระองค์ทรงถือเอแล้วด้วยคำว่าปลา แต่เพราะปลาลามเป็นปลา ร้าย พระองค์จึงตรัสแยกไว้ต่างหาก ในบทนี้ พระองค์ทรงอนุญาต เปลวมันแห่งพวกสัตว์มีงละเป็นกับปิยะแม่ทุกชนิด ด้วยคำว่าปลา เป็นต้น จริงอยู่ ในจำพวกมังสะ มังสะแห่งมนุษย์ ช้าง ม้า สุขับ ง, สีฯ, เสื้อโครง, เสื้อเหลือง, หมี่, เสือดาว, ๑๐ ชนิด เป็น อักปิยะ: บรรดาปลามัน เปลวมันแห่งมนุษย์ อย่างเดียว เป็น อักปิยะ: บรรดาอวะอย่างอื่น มีน้ำมันเป็นต้น ตัวว่า เป็นอุป- ปิยะ ไม่มิปิยะ น้ำมันปลาซึ่งมองุปสมันทำและกรองแล้ว ภิกษุ รับประเคนก่อนฉัน แม้เจืออานิส คือว่าก่อนฉัน ตั้งแต่หลังฉันไป ไม่เจืออัสสลอ จึงควรตลอด ๓ วัน วัดดูได้คล้ายกับสุติดั ละเอียด เป็นมังสะก็ดี เอ็นก็ดี กระดูกก็ดี เลือดก็ดี ปนอยู่ในเปลว มันนั้น วัดดูจับเป็นอัฟโพหริต ก็ถาว่า ภิกษรับประเคนเปลวมันกระทำมันเอง รับประเคน แล้วเจือว กองสร้างในรูปวัด พิธีบิจก โดยพิธีบิจกจาก อามิสได้ลอด ๓ วัน แท้จริง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายถึง การบริโภคปราศจากอามิส จิ่งรัศคํ่าว่า "รับประเคนในกล- เจียวเสริญในกล" กองในกล ควรเพื่อบริโภคอย่างบริโภคมัน." มังสะที่ละเอียดยิ่งเป็นต้น แม้น้ำมันที่รับประเคนปลามันแล้วเจียว กองนั้น ก็เป็นอัฟโพหริตเหมือนกัน แต่จะรับประเคน หรือเจียว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More