ทัศนสมบัติจากกษัตริย์ภาค ๑ - หน้า 323 ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 324
หน้าที่ 324 / 450

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการกล่าวถึงการไม่ควรรับมอบหรือกล่าวอะไรในสถานการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้น การตั้งคำถามและการตอบคำถามของภิกษุ และการให้เหตุผลในการแสดงการรมครั้งนี้ โดยเฉพาะในชุดการฝึกทางธรรมนั้น จะมีการเรียบเรียงและอธิบายอย่างละเอียดถึงการเพิ่มและลดการยืนของภิกษุในภาวนา นอกจากนี้ยังมีการแสดงถึงลักษณะเฉพาะการถวายครั้งเท่ากับการยืนสองครั้ง ซึ่งส่งผลต่อการฝึกฝนทางธรรมและการตอบสนองต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ในการดำเนินชีวิต

หัวข้อประเด็น

-แนวคิดเกี่ยวกับทัศนสมบัติ
-การตอบคำถามตามธรรมะ
-การเพิ่มและลดในภาวนา
-การฝึกฝนของภิกษุ
-การถวายในธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ทัศนสมบัติจากกษัตริย์ภาค ๑ - หน้า 323 ก็ไม่ควรมั่ง. สองบทว่า น อามิส ปฏิคุเฑนทพุมีความว่า แม้อื่นเขา อ้อนวอนอยู่ว่า “โปรดรับอมิตต่างโดยญาณและของอันมีขึ้นตั้ง สัก เล็กน้อย ขอรับ !" ก็ไม่ควรรับ. สองบทว่า น ธมฺโม ภาสิตพุโ มีความว่า แม้อุเขาอ้อน วอนอยู่ว่า “โปรดกล่าวมงคล หรือ อนิมนทนาคีด” ก็ไม่ควรกล่าว อะไรกเลย. เมื่ออุตฑูภามอย่างเดียว่า “ท่านมาพเพราะเหตุอะไร?” จึงบอกเขาว่า “จงรู้เอาเองเถิด ผู้มีอายุ !" จริงอยู่ คำว่า ปุจฉามิโน นี้ เป็นปฐมาวิถีกงในอรรถแห่งติยวิถีอีกอย่างหนึ่ง ผู้ศึกษา พึงเห็นใจความในบทว่า ปุจฉามิโน นี้ แม้อย่างนี้ว่า “ถูกเขาตั้ง ปัญหา” จริงอยู่ บุคคลใด ย่อมตั้งปัญหาถามา, ภิกษาว ตอบบุคคลนั้นเท่านั้นเอง. สองบทว่า ธานี ภาณุชาติ คือ ย่อมให้ถึงเหตุแห่งการรม. บัดนี้ พระผู้พระภาคเจ้า เมื่อทรงแสดงการเพิ่ม และการลด ในภาวนา ๓ ครั้ง และการอิ้น ๓ ครั้ง ที่พระองค์สักไร้แล้ว จึง ตรัสคำนี้เป็นต้นว่า “ถูกฤทูติโจเททวา เป็นต้น. องค์ในพระบาสนี้ ตรัสให้ลดการยืน ๒ ครั้ง โดยเพิ่มการทวงครั้งหนึ่ง ; เพราะฉนั้น จึงเป็นอันทรงแสดงลักษณะว่า “การถวายครั้งครั้งเท่ากับการยืนสอง ครั้ง.” มีคำอธิบายว่า “โดยลักษณะ จดังกล่าวมา ภิกษุทวน ๓ ครั้ง พึงยืนได้ ๔ ครั้ง, ทวน ๒ ครั้ง พึงยืนได้ ๓ ครั้ง, ทวนครั้งเดียว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More