การอธิบฐานจีวรในพระพุทธศาสนา ทุติยสมันตปาสาทิกา ภาค 1 หน้า 265
หน้าที่ 265 / 450

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายเกี่ยวกับการอธิบฐานจีวรและเหตุผลที่ทำให้การอธิบฐานนั้นขาดหายไป เช่น การใช้สอยจีวรโดยบุคคลอื่น หรือการถือเอาโดยวิลาสะ โดยมีการพูดถึงบริขารที่เกี่ยวข้อง เช่น ฟุกเตียงและผ้าปาวา นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงเหตุ 5 อย่างที่อาจทำให้จีวรไม่ต้องอธิบฐาน เช่น การถูกชิงเอาไปและช่องทะลุ ซึ่งเป็นช่องโหว่ขนาดเล็กที่อาจส่งผลต่อการอธิบฐาน.

หัวข้อประเด็น

-การอธิบฐานจีวร
-เหตุผลในการขาดอธิบฐาน
-บริขารในพระพุทธศาสนา
-จีวรและการใช้สอย
-ข้อกฎหมายเกี่ยวกับจีวร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ดู้อสังสมปลากาแปลภาค ๑ หน้า ที่ 264 แม่จะรวมจีวรมากผืนเข้าแล้วอธิบายว่า "ทำเจ้าอธิบฐาน จิวรเหลา่นี้เป็นบริขาร โจฬ" ดังนี้ ก็สมควรเหมือนกัน แม้กุฐจะเก็บไว้เป็นประโยชน์แก่เสะ นกกรรมและนารถก็ดีเป็นต้น ก็จำต้องอธิบฐานแท้ แต่ในมหาปัจเจกท่านกว่ารว่า "ไม่เป็นอาบัติ" ส่วนในเสนาสนะบริขารเหล่านี้ คือ ฟุกเตียง ๑ ฟุกตั้ง ๑ หมอน ๑ ผ้าปาวา ๑ ผ้โกเซาร ๑ และในเครื่องปลาดที่เขาเอาว่าไว้เพื่อประโยชน์แก่เสนาสนะ ไม่มีทีต้องอธิบฐานเลย. [ว่าด้วยเหตุให้ขาดอธิบฐาน] ถามว่า "ก็ จีวรท็อธิบฐานแล้ว เมื่อภูกใช้สอยอยู ่ จะอธิบฐานไปด้วยเหตุอย่างไร?" ตอบว่า "ขอเนละ ด้วยเหตุ ๕ อย่างนี้ คือ ด้วยให้บุคคลอื่น ๑ ด้วยถูกชิงเอาไป ๑ ด้วยถือเอาโดยวิลาสะ ๑ ด้วยจันไปเป็นคนเลว ๑ ด้วยลาดสิกขา ๑ ด้วยกลิริยา ๑ ด้วยแพกัล ๑ ด้วยถอธิบฐาน ๑ ด้วยความเป็นช่องทะลุ ๑." บรรดาเหตุ ๕ อย่างนั้น จีรวทุนนิอยละอธิบฐานด้วยเหตุ ๕ อย่างขัดกัน แต่เนราะใครจีรวละอธิบฐานด้วยความเป็นช่องทะลุทานกล่าวได้ในรถกุกกุแห่ง และการอธิบฐานนั้น ท่านกล่าวไว้ด้วยช่องทะลุประมาณเท่าหลังเล็บ ในช่องทะลุประมาณเท่าหลังเล็บนั่น ผู้ศึกษาพิพากษาพบขนาดเท่าหลังเล็บ ด้วยสามารถแห่งเล็บนี้อ้อย และช่องทะลุ เป็นช่องโหว่ที่เดียว. ถ้ามั่นว่า ภายในช่องทะลุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More