ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
การศึกษาร่องรอยพระพุทธศาสนาจากจารึกและศิลวัตถุบ่งชี้ว่าพระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทยไม่ช้าไปกว่าครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 10 ในบริเวณอ่าวไทยตอนบน (พิธีนะ ไกรฤกษ์ 2553: 27-29) หลักฐานทางโบราณคดีเก่าที่บ่งบอกถึงการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่สยามประเทศอย่างเป็นเรื่องเป็นราวคือตัวพระพุทธรูปในแบบบวมราดีที่เคยรุ่งเรืองอยู่ในอาณธุระประเทศทางตอนใต้ของอินเดียตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 7-10 มาปรากฏอยู่ในหลายท้องที่ของไทยและประเทศใกล้เคียงราวปลายพุทธศตวรรษที่ 10 (พิธีนะ ไกรฤกษ์ 48-49: Assavavirulhakarn 2010: 67) หากด่วมรปลักษณ์ขององค์พระที่ไม่ได้เป็นของอารยธรรมดั้งเดิมของมราวาดัลวินเพราะมีลักษณะของศิลปะท้องถิ่นผสมรวมอยู่ด้วยนั้น ทำให้ประจักษ์เชื่อว่าพระพุทธศาสนาต้องเข้ามาก่อนหน้านั้นแล้วรยะหนึ่งซึ่งนานพอที่วัฒนธรรมใหม่จากอินเดียจะหลอมรวมกันเข้ากับรูปแบบท้องถิ่นแล้ว (Assavavirulhakarn 2010: 67) นอกจากนี้นักศึกษาพุทธศิลป์ยังชี้ว่าพระพุทธศาสนาที่เคยเผยแผ่เข้ามาในประเทศไทยมีหลายยุคซึ่งผลัดเปลี่ยนกันเข้า มาส่วนพระพุทธศาสนาเริ่มร่วงหลากหลายรูปแบบก็ลัดกันเข้ามาหลายรอบ 22 แม้จะยังสรุป
22 พิธีนะ ไกรฤกษ์ (2553: 18) จำแนกพุทธศาสในประเทศไทยเป็น 7 กลุ่ม ตามอายุของวัตถุ คือ
1. พุทธศิลปในนานกายหลัก (ศราวาณ) ได้แก่ กนยมาสมัก สัมมิตะ มูสรรวาสิตาวา และเทรวา พบในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 11-14
2. พุทธศิลปของมณฑพยาน นิยายสุขาวดี พบราวกลางพุทธศตวรรษที่ 11-15
3. พุทธศิลปของต้นตรายา พบราวต้นพุทธศตวรรษที่ 14-19
4. พุทธศิลปในราวบแทบกผุฑา ทั่งฝ่ายอรธารณ์ และก็โพธิวงค์ พบราวต้นพุทธศตวรรษที่ 15-20
5. พุทธศิลปในราวฝ่ายมหาวิหาร พบราวต้นพุทธศตวรรษที่ 20 ถึงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 21
6. พุทธศิลปของสยามนิกาย พบราวกลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 25
7. พุทธศิลปของธรรมยุตนิกาย พบตั้งแต่ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงปัจจุบัน