ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
การกำหนดนิิมิตความสว่างที่แสดงไว้ในคัมภีร์โยคาวจรและที่สอนอยู่ใน
วิชาชธรรมภาย จึงนับว่าสอดคล้องกัน และเป็นวิธีการเก่าแก่ที่ปฏิบัติมาแต่
โบราณกาลดังอุปฐานในพระไตรปิฎกบาลี
ค. การดับกิเลสกับลมหายใจหยุด
ดังได้กล่าวข้างต้นว่าภาวะที่สำคัญในการเจริญสมาธิวาณของโยคาวจร
คือ นิสสาสาวะ ซึ่งหมายถึงภาวะที่ลมหายใจหยุดนิ่งและตัดการรู้รู้สิ่งต่างๆ
ภายนอกอบตัวโดยสิ้นเชิง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าตรงกันกับนิธสมบัติ หรือ
สัญญาเวทนิติธร ที่แสดงไว้ในพระไตรปิฎกบาลีว่า เป็นสมาธิตดับสัญญา
และเวทนา ผู้เข้าสมาธิดี วิธีสังขาร กายสังขาร และจิตสังขาร ดับไป
ตามลำดับ (ม.ม. 12/510/549; ส.ส. 18/564/362)
มีคำอธิบายแสดงไว้ในพระไตรปิฎกว่ า “วจีสังขาร” อันได้แก่วิตกวิจาร
นั่นดับไปตั้งแต่บานที่ 2 ส่วน “กายสังขาร” คือ ลมหายใจเข้าออกจะดับไปใน
บานที่ 4 75 และ “จิตสังขาร” ได้แก่ สัญญาและเวทนาดับในสัญญาเวทิต
นิรีโอ หรือในโรจนะบัณฑิต (ข.อุปบ.) 31/222/145)
การดับของกายสังขารคือ ลมหายใจเข้าออกในสภาวะของนิรีโอสมาบัติ
นั่น ได้แก่ ลมสาสวาด ซึ่งคัมภีร์อัชฌา ธรรมานำมาเกี่ยวโยงเข้ากับการกำจัด
75 อนิ่ง การดับไปของกายสังขราในบานที่ 4 นั้นมีแสดงไว้ในบทอธิกรณ์ว่า “ภิกฺขุในธรรมวินัย
นี้ บรรลุอุตตฐานไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขะทุกข์และดับสมมุติโมทนัสก่อนๆ ได้ มีอุบกา
เป็นเหตุให้สมาธิรออยู่ ภิกฺขุทั้งหลาย ภิกฺขุเป็นผู้นี้มีการสังขารอันสงบระงับแล้ว อย่างนี้แล ฯ”
(อญฺหสก 24/20/33)