ข้อความต้นฉบับในหน้า
ญาณและพุทธคุณต่างๆ ที่กล่าวไว้ในคาถาธรรมกาย และลงท้ายด้วยภควํวกาที่รวมอุณหิสรย์ชัยและคาถาบาลีที่แสดงความนอบน้อมต่อพระพุทธเจ้าในอดีตจำนวนมากได้ด้วย13
เนื้อหาของคาถาธรรมกายและบทอธิบายที่ปรากฏในค็าชมกิรธ์พระธีรมกายทิ (พระครูธีรมกายลาลน) ได้ทำการแปลเป็นภาษาไทยไว้ในรายงานการศึกษาวิจัยคัมภีร์พระธีรมกายทิ (พระครูธีรมกายลาลน 2557)14
ก. พุทธญาณและพุทธคุณในคัมภีร์พระธีรมกายทิ
พระพุทธญาณและพุทธคุณที่เปรียบได้กับส่วนต่างๆ ของพระธรรมกายดังที่แสดงไว้ในคาถาธรรมกายในคัมภีร์พระธีรมกายนี้ อาจสรุปได้ดังตารางข้างล่างนี้
13 เป็นไปได้ว่าการที่มีบทอรรถธิบายและบทย่อๆ ผลงานในข้างต้นนี้ เป็นที่มาออชื่อ ร่มกายามที ซึ่งแปลว่า “คัมภีร์ ร่มกายามที เป็นต้น” คือฉบับนี้ด้วย “คัมภีร์ธรรมกาย” (4.1.1.3) และตามด้วยคัมภีร์หรือข้อความอื่นๆ อันได้แก่บทอรรถาธิบายและคาถาอุตฺตบทิ (พระครูธีรมกายลาลน) จำนวนมากเป็นต้น
14 เนื่องจากเนื้อหาหลักของคัมภีร์พระธีรมกายทิ ก็คือคาถาพระธรรมกาย และบทอรรถาธิบาย (อุตฺตบทฺนูนา) ดังนั้น การศึกษาเนื้อหาของคัมภีร์และการวิเคราะห์ในแนวทางต่างๆ ในคัมภีร์พระธีรมกายทิ จึงถือเป็นการศึกษาอคาถาพระธรรมกายโดยรวม
บทที่ 4 เอเชียคแนย | 319