ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ชาวพุทธในระดับพื้นบ้าน (Bizot 1976; McDaneil 2011) บิซอทพบว่าคัมภีร์ปฏิบัติธรรมภายาเขมรนั้นมีมุมมองในการปฏิบัติแตกต่างไปจากที่ได้เคยทราบทั่วไป และเชื่อว่าคัมภีร์ที่มีเนื้อหาในลักษณะนี้ยังมีอยู่ในพื้นที่อื่นหรืออาจด้วยอักษรอื่นในเอเชียอเนกแน่ด้วยเช่นกัน
เกือบ 20 ปีต่อมา ลากิราร์ด (Lagirarde 1993) นักวิชาการชาวฝรั่งเศสท่านหนึ่งพบว่าคัมภีร์พระพุทธศาสนาภัณฑธรรมล้านนาน ก็มีเนื้อหาในลักษณะเดียวกัน จากนั้นจึงมีการขยายวงการค้นคว้าเปรียบเทียบคัมภีร์ที่ว่าด้วยอักษรโบราณต่างๆ ในภูมิภาคนี้อย่างกว้างขวางโดยนักวิชาการชาวเยอรมัน อังกฤษ และอเมริกัน มีผลงานเป็นที่ยอมรับได้แก่ ครอสบี้ (Crosby) ชาวอังกฤษผู้นำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างศรัทธาและเอเชียอเนกด้วยการปฏิบัติวานแบบ “โบราณ” เผยว่าคัมภีร์ที่เหมือนกันนี้ศรัลังกด้วยเช่นเดียวกัน (Crosby et.al., 2012)
กลุ่มคัมภีร์ที่นำมาศึกษาในงานวิจัยนี้ได้แก่ คัมภีร์พุทธนรัน คัมภีร์พระญาณสิติน คัมภีร์บัวพันธุ์ คัมภีร์รมกาย และคัมภีร์มูลลากัมมุน ที่เก็บรักษาไว้ในอารามต่างๆ ทางภาคเหนือ ภาคอีสานของไทย และในประเทศลาว รวมทั้งคัมภีร์มูลพระกรรมฐาน ปริยายพระวิปัสสนาสูตร และคัมภีร์ในกลุ่มเดียวกันจากกัมพูชา เนื้อหาของสมาธิวาวที่แสดงไว้ในคัมภีร์เหล่านี้บ่งบอกวาเป็นคัมภีร์จากสายการปฏิบัติเดียวกัน
เนื้อหาของคัมภีร์โคดาวจร นอกจากการแนะนำการปฏิบัติสมาธิวาว และกล่าวถึงผลการปฏิบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ยังกล่าวถึงหลักการทั่วไปไว้ด้วย ซึ่งในที่จะแสดงเนื้อหาตามลำดับตั้งแต่ ภาพรวมการศึกษาและปฏิบัติในพระพุทธ