ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาภาย หรือ "คุณธรรมทั้ง 5 ที่เป็นองค์ประกอบของธรรมาภาย" ก็ได้เช่นกัน
ซึ่งหากแปลในสามลักษณะนี้ จะนับได้ว่าคำสอนที่ปรากฏในคัมภีร์โบราณคงฉันในส่วนนี้รงกันกับหลักการของวิชชาธรรมกายอย่างสมบูรณ์ ส่วนความตั้งใจดังเดิมของคัมภีร์เป็นเช่นไรนั้น ข้อมูลเท่าที่มีอยู่ยังไม่อาจตัดสินได้แน่นอน การศึกษาเจาะลึกต่อไปในความเป็นมาของคัมภีร์อาจช่วยให้ตัดสินประเด็นนี้ได้แน่นอนยิ่งขึ้น
ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า การกล่าวถึงธรรมาภาย 5 ส่วนในคัมภีร์โบราณนั้น มีความสอดคล้องกันกับหลักการของวิชชาธรรมกายในระดับสูง ส่วนว่าจะสูงเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับการแปลและตีความกลุ่มคำ “อู่-เฟิน-ฟา-เชิน” (五分法身) เป็นสำคัญ
3.2.9. บทสรุปธรรมาภายในค้นธาระ เอเชียกลาง และประเทศจีน
จากเนื้อหาของคัมภีร์ที่พบในค้นธาระ เอเชียกลาง และประเทศจีน ดังที่แสดงไว้ข้างต้นนั้น อาจสรุปความหมายและลักษณะของธรรมาภายที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ในของความสอดคล้องกับหลักการของวิชชาธรรมกายได้ดังนี้
1. พบคำว่า ธรรมาภาย ในคัมภีร์ที่มีอยู่ตั้งแต่รวงพุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา บ่งบอกว่าคำว่าธรรมาภายเป็นที่รู้จักดีของชาวพุทธในทุกยุคสมัยมาตั้งแต่โบราณ
2. ความสอดคล้องกับหลักการของวิชชาธรรมกายนั้น พบตั้งแต่ความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์ในปัจจุบันถึงความสอดคล้องโดยมีเงื่อนไขในการที่ความหรือมีความสอดคล้องในหลักการเบื้องต้นแต่แตกต่างกันในรายละเอียด จนถึงที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง