ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์ทูพีธบราน 1 ฉบับวิชาการ
ในปี พ.ศ. 2367 ก่อนหน้าการค้นพบในเอเชียกลางและค้นธารได้เคยมีก
การค้นพบต้นฉบับคัมภีร์ภาษาสันสกฤตเป็นชุดใหญ่ในเนปาลมาก่อนแล้ว จาก
การศึกษาเนื้อหาในครั้งนั้นพบว่าเป็นคัมภีร์ทูพีธบราหยานและวัชรยานที่คลอด
ในเนปาล มีอายุในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 12-23 คัมภีร์สันสกฤตในเนปาล
จึงเป็นแหล่งรวมคัมภีร์พุทธมหายานในต้นฉบับสกถ์ที่ศรัทธาถวายที่สุด
ส่วนการค้นพบในเอเชียกลางเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2433 เมือชายชาวบ้าน
แอปไปขุดพื้นที่ที่เป็นเมืองโบราณใต้ดินในเขตจังหวัดชนเจียงของประเทศจีน
เพื่อจะหาสมบัติ แต่กลับไปพบอะไรสักอย่างที่เขาเรียกว่า “book” ซึ่งแท้ที่
จริงก็คือคัมภีร์ที่มีจารึกข้อความอุทีศถวายพระไตรปิฎก จึงนำมาเสนอขาย
ให้กับนายพล Hamilton Bower นายตำรวจชาวต่างชาติที่ทางการอินเดียส่ง
เข้าไปปฏิบัติหน้าที่อยู่ในพื้นที่ การศึกษาเนื้อหาของคัมภีร์พบว่าส่วนใหญ่เป็น
ตำราและคัมภีร์พุทธอยู่ด้วย คือ มายุธราณี ซึ่งมีเนื้อหาบางส่วนตรงกับ
ขั้นตอนปริตนของบาลี
การค้นพบครั้งนี้เป็นจุดเริ่มต้นให้นักวิชาการนานาชาติเกิดความ
สนใจที่จะสืบค้นคัมภีร์และร่องรอยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาจากเอเชีย
กลาง (Hoerne 1893) ในปีต่อมาเมื่อมีการตีพิมพ์รายงานออกมา ทีมงานนัก
ประวัติศาสตร์และโบราณคดีจากรัสเซียจึงได้เข้าไปขุดค้น และในภายหลังมี
ทีมงานจากหลายประเทศเข้าไปอย่างต่อเนื่อง มีการค้นพบเป็นชุดใหญ่ต่อมา
38 มีโครงการร่วมกันระหว่างประเทศปาฎิบาลกับเยอรมันในการอนุรักษ์คัมภีร์ดังกล่าวและถ่ายภาพเป็น
โคร์ฟิมประโยชน์แก่วงการวิจัยของนักวิชาการทั่วโลก