ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์ พุทธโบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ยามาเบะ (Yamabe 2010: 1049-50) พบว่าคัมภีร์นี้มีเนื้อหาบางตอนที่ตรงกันกับคัมภีร์อื่นๆ เช่น คัมภีร์ชื่อเหว่ยเล่าก่าวฝา (思惟要法 The Abidged Essential), คัมภีร์ฐานมีขำฝาใจ (禪秘密法經 the Secret Essentials of Meditation T15 No. 613) และคัมภีร์กวนใจจิง (觀經 the Visualization Manual T85 No. 2914) เป็นต้น จึงเป็นไปได้ว่าคัมภีร์นี้จะประมวลเอาคำสอนจากหลายๆ ฉบับเข้ามาสรุปรวมกันไว้
สิ่งที่น่าสนใจคือในส่วนของพุทธศิลป์ ที่กล่าวถึงเทคนิคในการทำสมาธิว่า รวมใจให้แน่นแน่แก่ฝ่าดูที่บริเวณสะดือ (一心觀齋) ผลจากการทำสมาธิแบบนี้จะทำให้ผู้ปฏิบัติมีประสบการณ์ที่สามารถองเห็นดวงธรรมและองค์พระได้
ประมวลหัวใจการปฏิบัติที่รวบรวมโดยพระภิญชนาชจีนทั้งสองฉบับจึงน่าว่ามีหลักการที่สอดคล้องกันกับวิชชาธรรมกาย ทั้งในประเด็นเกี่ยวกับการเห็นพระและดวงสว่างภายใน รวมทั้งกราวใจไว้ที่ศูนย์กลางกาย
3.3.2.7. คู่มือตรรธรรมปฏิบัติทางโกลิย๘
คัมภีร์นี้เป็นคู่มือตรรธรรมที่เขียนในภาษาของโกเลียแล้วนำมาแปลเป็นภาษาจีนรวบ พ.ศ. 1800 กล่าวถึงการปฏิบัติธรรมที่สิงหลอฟ (Schingloff) ระบุว่า คล้ายคลึงกับวิธีปฏิบัติธรรมที่กล่าวไว้ในตรารูปปฏิบัติธรรมของโยคาจาร (ดู 3.3.2.4) คัมภีร์นี้แบ่งเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรมไว้ 7 หมวด ได้แก่
–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––
เนื้อหาอ้างอิงจากวิจัย “สมาธิศึกษาศูนย์กลางกายภายในพระพุทธศาสนาจีนยุคต้นและยุคโหม่วชิ้น” (พระเกียรติศักดิ์ กิตติปัญโญ 2557)