ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พิทักษ์โบราณ 1 ฉบับวิชาการ
ถ้าเห็นแล้วก็ไม่ปล่อยละทิ้ง นอน กิน ดื่ม ทำพูด คิด อาจาจจะ ปัสสาวะ ชำเลืองไว้เสมอ มองอยู่เสมอ ใจจดอยู่เสมอ ไม่ผลอดกันละ ไม่ให้ใจลดดีเดี่ยวจากจรรธรรมที่เกิดขึ้นนั่น ไม่ให้ใจหลุดที่เดียว ติดที่เดียว ถ้าติดได้ขนาดนั้น ไม่ทำให้หลุดเลย นั่ง นอน เดิน ยืน วันไว้นั้นก็พฤติกรรมเขาเรียกว่าสตูติยา นิจจิ ทุมพรุกมา ผู้มีความเพียรเก้าวหน้าหมั่นเป็นนิษฐี มีผลเจริญไปหน้า ไม่มีถอยหลังเลย (รธ.347)
3. ภาวนาปราณ ความเพียรในการเจริญองค์แห่งการต่อสู้ (โพชฌงค์)
พระมงคลเทพมุนีแสดงธรรมในการเจริญโพชฌงค์ 7 ประการไว้ สรุปความได้โดยย่อว่า การเจริญโพชฌงค์ 7 ประการ เมื่อมาให้มากแล้วอ่อนเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อเนิพพาน เพื่อความตรัสรู้ ได้แก่ สติสัมโพชฌงค์ ต้องไม่ผลอดเลย เอสถิณีอยู่ศูนย์กลางธรรมที่ทำให้เป็นภายมนุษย์ ระวังใจหยุดไว้ดังนั้น จะยืน เดิน นั่ง ก็ระวังใจหยุด ไม่ผลอดเลย ธัมมวิจัย สัมโพชฌงค์ เมื่อใจหยุดนั้นอยู่ก็อดล่องใจ ความดีความชั่วจะเล็ดลอดเข้ามาเท่าไหร่ก่ำใจให้หยุด ไม่กังวล ไม่หวั่นไหว ใจหยุดระวังไว้ เป็นตัวสติวิสิฐิที่สอดส่องอยู่ วิริยะสัมโพชฌงค์ เพียรระงับใจหยุดนั้นไม่ให้หาย ไม่ให้เคลื่อน ไม่เป็นไปกับความยินดีร้าย มีความเพียรกล้ารักษาใจไว้ให้หยุดทำเดียว ปีติสัมโพชฌงค์ เมื่อใจหยุด ใจก็เบิกบาน ปีติไม่เคลื่อนจากหยุดเลย ยังคงหยุดนิ่งอยู่เช่นนั้น ปลาสิทธิสัมโพชฌงค์ หยุดในหยุดๆ ไม่มีออ สงบระงับช้า เรื่อยไป สมาธิสัมโพชฌงค์ มั่นคงอยู่ที่ใจหยุด ให้ใจเป็นหนึ่ง ไม่เป็นสอง อุเบกขาสัมโพชฌงค์ พอสมาธิหนักเข้ๆ นิ่งเลยไม่มีสองต่อไป เรียกว่า อุเบกขา นิ่งเลยแล้ว (สรุปความจาก รร. 482-3)
138 | ดร.ชนิดา จันทารศรีโล